ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตัวชี้วัดระดับกรม อย. ประเด็น ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ผู้ดำเนินการ
Advertisements

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๕ ส่งเสริมและพัฒนาระบบสารสนเทศชุมชน
Research Mapping.
แผนภูมิโครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
แนวทางการการดำเนินงานปี 2551
กระทรวงสาธารณสุข (ร่าง)โครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศ : ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
กลุ่มตัวชี้วัด : ๑) จำนวนการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตบริการ ลดลงร้อยละ ๕๐
การพัฒนาระบบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร ณ โรงแรมเจริญ โฮเต็ล จังหวัดอุดรธานี
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ผลการประเมินการดำเนินงาน 46
การป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
รายละเอียดลักษณะตัวชี้วัดความสำเร็จกิจกรรมและผลการดำเนินงานควบคุมรายโรค โรคที่สำคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข.
กลุ่มตรวจสอบ ติดตาม ด้านยา วัตถุเสพติด และ เครื่องมือแพทย์ ( ตส.1 ) สำนักงานคณะกรรมการ อาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข.
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
ตัวชี้วัดสำคัญ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ของ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา วันที่ 26 พฤศจิกายน
ตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค.
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “ โครงการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากร สนับสนุนการติดตามประเมินผลการดำเนินงานของกรมทรัพยากรน้ำ ”
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
รพสต. ความปลอดภัยผลิตภัณฑ์ พฤติกรรม การโฆษณา การบริโภค หลอกลวง
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
กรณีความเสี่ยง DMSc.
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการสร้างแรงจูงใจและมีส่วนร่วม
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
โครงสร้างสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
ต้นน้ำ : ฟาร์มปศุสัตว์ ฟาร์มสัตว์น้ำ แปลงเพาะปลูก
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558
ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต ๑-๑๘
สป.สธ. เลือกจากแผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
การนำเสนอคำของบดำเนินงานโครงการปี 2559
ระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหาร ระบบการจัดการน้ำบริโภค ของ
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ตัวชี้วัดผลงาน 1. มีการคณะกรรมการ หรือ คณะอนุกรรมการ.
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
แนวทางการดำเนินงานสาธารณสุขที่สำคัญ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2557 กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ โดย นพ.อิทธิพล สูงแข็ง สาธารณสุขนิเทศก์

การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ เครื่องมือแพทย์ วัตถุอันตราย ยา ผลิตภัณฑ์ สุขภาพ วัตถุออกฤทธิ์ เครื่องสำอาง สารระเหย อาหาร กฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง จัดการ ข้อร้องเรียน ยาเสพติด บริการ สุขภาพ ภาครัฐ เอกชน ท้องถิ่น อนามัยสิ่งแวดล้อม

ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ๑. ระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพระดับจังหวัดที่มีคุณภาพ ๒. ระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการสุขภาพ ระดับจังหวัดที่มีคุณภาพ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ๓. ระบบการบริหารจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่มี ผลกระทบต่อสุขภาพระดับจังหวัดที่มีคุณภาพ ๔. ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ เรื่องร้องเรียนการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมที่มีผล กระทบต่อสุขภาพ

การติดตามและประเมินผล กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ประเด็นการตรวจ กรอบแนวทางการติดตามและประเมินผล 1.การคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ระดับจังหวัดที่มีคุณภาพ 1.1 การจัดทำแผนงาน และงบประมาณของจังหวัดในเรื่องการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ 1.2 การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ (1) ควบคุมกำกับการผลิต/นำเข้า/จำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพ (Pre Marketing) (2) เฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพหลังออกสู่ตลาด (Post Marketing ) 1.3 การพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมความรู้ด้านกฎหมาย และการคุ้มครองผู้บริโภค(Empowerment & Education) (1) การพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมความรู้ด้านกฎหมายแก่ เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน เจ้าพนักงานตามกฎหมาย และอปท. (2) ส่งเสริมความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคแก่ประชาชน 1.4 ระบบการเก็บข้อมูลทางระบาดวิทยาเพื่อวิเคราะห์ สถานการณ์ปัญหา และการเฝ้าระวัง 1.5 การวิเคราะห์ความเสี่ยง และโอกาสพัฒนา

การติดตามและประเมินผล กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ประเด็นการตรวจ กรอบแนวทางการติดตามและประเมินผล 2. ระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการสุขภาพ ระดับจังหวัดที่มีคุณภาพ 2.1 การจัดทำแผนงาน และงบประมาณ ของจังหวัดในเรื่อง การคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการสุขภาพ 2.2 การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการสุขภาพ (1) ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนา ธุรกิจบริการสุขภาพและควบคุม กำกับให้เป็นไปตามมาตรฐาน (2) ส่งเสริมการรับรู้สิทธิประโยชน์ด้านบริการสุขภาพ และสร้างเครือข่ายคุ้มครองบริการสุขภาพส่งเสริม ควบคุม กำกับ 2.3 ระบบข้อมูลในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการสุขภาพผู้ประกอบโรคศิลปะ 2.4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง และ โอกาสพัฒนา

การติดตามและประเมินผล กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ประเด็นการตรวจ กรอบแนวทางการติดตามและประเมินผล 3. ระบบการบริหารจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่มีผล กระทบต่อสุขภาพ ระดับจังหวัดที่มีคุณภาพ 3.1 การจัดทำแผนงาน และงบประมาณของจังหวัด ในเรื่องอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม 3.2 การดำเนินงานอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม (1) ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนา สถานประกอบการ และ ให้เป็นไปตามมาตรฐาน (2) ติดตามประเมินสถานประกอบการ และควบคุม กำกับให้เป็นไปตามมาตรฐาน 3.3 การพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมให้ความรู้ด้านอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม(Empowerment& Education) (1) การพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมความรู้ด้านกฎหมาย แก่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน เจ้าพนักงานตามกฎหมาย และ อปท. (2) ส่งเสริมความรู้ด้านการอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม แก่ประชาชน 3.4 ระบบข้อมูลในการดำเนินงานอาชีวอนามัยและ สิ่งแวดล้อม 3.5 การวิเคราะห์ความเสี่ยง และโอกาสพัฒนา

การติดตามและประเมินผล กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ประเด็นการตรวจ กรอบแนวทางการติดตามและประเมินผล 4. ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการเรื่องร้องเรียนการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ 4.1 การจัดทำนโยบาย แผนงานและงบประมาณ ของจังหวัดในเรื่องจัดการเรื่องร้องเรียนการ คุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ 4.2 การจัดระบบบริหารจัดการเรื่องร้องเรียน 4.3 การสื่อสารระบบการจัดการเรื่องร้องเรียนแก่ ประชาชนและผู้ที่เกี่ยวข้อง 4.4 ความสามารถตอบสนองต่อข้อร้องเรียนภายใน ระยะเวลาที่กำหนด 4.5 ระบบข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการเรื่องร้องเรียน 4.6 การวิเคราะห์ความเสี่ยง และ โอกาสพัฒนา

ตัวชี้วัดในการติดตามประเมินผล กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ผู้รับผิดชอบ 1. ระดับความสำเร็จของการจัดการปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพ อย. 2. ร้อยละของจำนวนตลาดประเภทที่ 2 ตามกฎกระทรวงว่า ด้วยสุขลักษณะของตลาด พ.ศ. 2551 ได้รับการติดตาม ประเมินคุณภาพ (ร้อยละ 80) กรมอนามัย 3. ร้อยละของจำนวนข้อร้องเรียนของผู้บริโภคด้านสุขภาพ ได้รับการแก้ไขภายในระยะเวลาที่กำหนด (ร้อยละ 98) (หมายเหตุ สถานบริการภาคเอกชน) อย./กรม สบส. 4. ร้อยละของเรื่องร้องเรียนของผู้บริโภคด้านบริการสุขภาพ ที่ได้รับการแก้ไขจนได้ข้อยุติ (ร้อยละ 57) กรม สบส. 5. ร้อยละของจำนวนข้อร้องเรียนเรื่องเหตุรำคาญ ตาม พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ.2535 ได้รับการจัดการ ตามขั้นตอนที่กำหนด (ร้อยละ 80)

ผลลัพธ์ที่ต้องการ Regulatory Body Service Providers การคุ้มครองผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ผู้บริโภคได้รับผลิตภัณฑ์ และบริการด้านสุขภาพ ที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ การคุ้มครองผู้บริโภค ด้านบริการสุขภาพ การบริหารจัดการ เรื่องร้องเรียน ข้อร้องเรียนของผู้บริโภค ลดลง/ได้รับการแก้ไข

Thank You !