งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
อำเภออมก๋อย

2 เด็กแรกเกิดอายุ 2 วันขึ้นไป ได้รับการเจาะเลือดเพื่อตรวจ TSH และมีค่า TSH > 11.2 mU/L ไม่เกินร้อยละ 20 ปี 2552 คิดเป็นร้อยละ 21 แม่อาย ฝาง ไชยปราการ เวียงแหง เชียงดาว พร้าว วัดจันทร์ แม่แตง สันทราย สะเมิง แม่ริม ดอยสะเก็ด แม่ออน เมืองเชียงใหม่ หางดง สันกำแพง แม่แจ่ม แม่วาง สารภี สันป่าตอง ดอยหล่อ จอมทอง ระดับรุนแรง ฮอด ดอยเต่า ระดับปานกลาง อมก๋อย ระดับเล็กน้อย ไม่ขาดสารไอโอดีน

3 ร้อยละความครอบคลุมเกลือเสริมไอโอดีน ในครัวเรือน (ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 90)
แม่อาย ฝาง ร้อยละความครอบคลุมเกลือเสริมไอโอดีน ในครัวเรือน (ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 90) ไชยปราการ เวียงแหง เชียงดาว พร้าว กัลยานิวัฒนา แม่แตง สันทราย สะเมิง แม่ริม ดอยสะเก็ด เมืองเชียงใหม่ แม่ออน หางดง สันกำแพง แม่แจ่ม แม่วาง สารภี สันป่าตอง ดอยหล่อ จอมทอง ฮอด ดอยเต่า ผ่านเกณฑ์ อมก๋อย ไม่ผ่านเกณฑ์ ไม่ได้รับการรายงานข้อมูล

4 พบไอโอดีน > 30 ppm (ร้อยละ)
สถานการณ์ ผลการตรวจคุณภาพเกลืออนามัยเสริมไอโอดีน ปีงบประมาณ จำนวนตัวอย่าง พบไอโอดีน > 30 ppm (ร้อยละ) 2553 7,891 30.63

5 - การดำเนินการส่งเสริมป้องกันและควบคุมโรคขาดสารไอโอดีนเน้นการสร้างเครือข่ายการดำเนินงานส่งเสริมป้องกันและควบคุม โรคขาดสารไอโอดีน คือ สาธารณสุขอำเภอ/ ครู กศน. / องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น / อาสาสมัครสาธารณสุข - มีการแก้ไขปัญหาในพื้นที่ โครงการพ่นสารละลาย โปแตสเซียมไอโอเดตในเกลือที่ใช้บริโภคในครัวเรือน - การวิจัยในพื้นที่ร่วมกับสถาบันวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง การเพิ่มธาตุไอโอดีนในข้าวเจ้าขณะ หุงต้มเพื่อแก้ไขปัญหาการขาดธาตุไอโอดีนในเด็กวัยก่อนเรียนในศูนย์เด็กเล็กอำเภออมก๋อย

6 ผลสำเร็จ ๑. เกิดการทำงานเป็นเครือข่ายที่มีความหลากหลายองค์กรใน พื้นที่เสี่ยง ๒. เกิดการกระตุ้น มีการสื่อสารกันมากขึ้น ในเรื่องไอโอดีนทั้ง ระดับจังหวัด – อำเภอ – สถานีอนามัย ๓. เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานระดับอำเภอ / โรงพยาบาลทุกแห่ง ได้มีโอกาสพัฒนาความรู้ เรื่องเกี่ยวกับไอโอดีน ๔. มีระบบการทำงานการติดตามทารกที่มีผลตรวจคัดกรอง TSH ผิดปกติ (Flow Chart / แบบรายงานการติดตาม)

7 มาตรการหลักที่เป็นแนวทางในการแก้ปัญหา
1. การเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง คัดกรอง TSH ตรวจ Urine Iodine ในหญิงตั้งครรภ์ ความครอบคลุมเกลือเสริมไอโอดีนในครัวเรือน การตรวจคุณภาพเกลือที่ผลิตและจำหน่ายโดย อย.น้อยหรืออสม. 2. การส่งเสริมและป้องกัน การจ่ายเกลือเสริมไอโอดีน , น้ำไอโอดีนเข้มข้นสำหรับหยดในน้ำดื่ม การดำเนินการโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารฯ การส่งเสริมการใช้เกลือไอโอดีน การให้ยาเม็ดเสริมไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์

8 มาตรการหลักที่เป็นแนวทางในการแก้ปัญหา (ต่อ)
3. การรณรงค์เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์และการตลาด การรณรงค์และประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง อาหารเสริมไอโอดีนที่มีเลข อย. การจำหน่ายเกลือผ่านกองทุนเกลือ หรือ สถานีอนามัย การสร้างเครือข่ายสื่อสาร อสม. ในระดับชุมชน

9 มาตรการหลักที่เป็นแนวทางในการแก้ปัญหา (ต่อ)
4. การวิจัยและพัฒนา 5. มาตรการทางกฏหมาย การดูแลควบคุมกำกับการปฏิบัติตามประกาศ กระทรวงสาธารณสุข เรื่อง เกลือบริโภค พ.ศ. 2553

10 มาตรการหลักที่เป็นแนวทางในการแก้ปัญหา (ต่อ)
6. มาตรการบริหารจัดการและสร้างความเข้มแข็งภาคีเครือข่าย การสร้างความรู้ความเข้าใจขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การสนับสนุนพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการเกลือและผลิตภัณฑ์เสริมไอโอดีน ผลักดันให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีนโยบาย มาตรการการป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน โดยใช้กลไกกองทุนสุขภาพตำบล

11 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt การป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google