ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2557 กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ โดย นพ.อิทธิพล สูงแข็ง สาธารณสุขนิเทศก์
การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ เครื่องมือแพทย์ วัตถุอันตราย ยา ผลิตภัณฑ์ สุขภาพ วัตถุออกฤทธิ์ เครื่องสำอาง สารระเหย อาหาร กฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง จัดการ ข้อร้องเรียน ยาเสพติด บริการ สุขภาพ ภาครัฐ เอกชน ท้องถิ่น อนามัยสิ่งแวดล้อม
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ๑. ระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพระดับจังหวัดที่มีคุณภาพ ๒. ระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการสุขภาพ ระดับจังหวัดที่มีคุณภาพ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ๓. ระบบการบริหารจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่มี ผลกระทบต่อสุขภาพระดับจังหวัดที่มีคุณภาพ ๔. ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ เรื่องร้องเรียนการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมที่มีผล กระทบต่อสุขภาพ
การติดตามและประเมินผล กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ประเด็นการตรวจ กรอบแนวทางการติดตามและประเมินผล 1.การคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ระดับจังหวัดที่มีคุณภาพ 1.1 การจัดทำแผนงาน และงบประมาณของจังหวัดในเรื่องการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ 1.2 การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ (1) ควบคุมกำกับการผลิต/นำเข้า/จำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพ (Pre Marketing) (2) เฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพหลังออกสู่ตลาด (Post Marketing ) 1.3 การพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมความรู้ด้านกฎหมาย และการคุ้มครองผู้บริโภค(Empowerment & Education) (1) การพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมความรู้ด้านกฎหมายแก่ เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน เจ้าพนักงานตามกฎหมาย และอปท. (2) ส่งเสริมความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคแก่ประชาชน 1.4 ระบบการเก็บข้อมูลทางระบาดวิทยาเพื่อวิเคราะห์ สถานการณ์ปัญหา และการเฝ้าระวัง 1.5 การวิเคราะห์ความเสี่ยง และโอกาสพัฒนา
การติดตามและประเมินผล กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ประเด็นการตรวจ กรอบแนวทางการติดตามและประเมินผล 2. ระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการสุขภาพ ระดับจังหวัดที่มีคุณภาพ 2.1 การจัดทำแผนงาน และงบประมาณ ของจังหวัดในเรื่อง การคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการสุขภาพ 2.2 การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการสุขภาพ (1) ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนา ธุรกิจบริการสุขภาพและควบคุม กำกับให้เป็นไปตามมาตรฐาน (2) ส่งเสริมการรับรู้สิทธิประโยชน์ด้านบริการสุขภาพ และสร้างเครือข่ายคุ้มครองบริการสุขภาพส่งเสริม ควบคุม กำกับ 2.3 ระบบข้อมูลในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการสุขภาพผู้ประกอบโรคศิลปะ 2.4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง และ โอกาสพัฒนา
การติดตามและประเมินผล กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ประเด็นการตรวจ กรอบแนวทางการติดตามและประเมินผล 3. ระบบการบริหารจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่มีผล กระทบต่อสุขภาพ ระดับจังหวัดที่มีคุณภาพ 3.1 การจัดทำแผนงาน และงบประมาณของจังหวัด ในเรื่องอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม 3.2 การดำเนินงานอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม (1) ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนา สถานประกอบการ และ ให้เป็นไปตามมาตรฐาน (2) ติดตามประเมินสถานประกอบการ และควบคุม กำกับให้เป็นไปตามมาตรฐาน 3.3 การพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมให้ความรู้ด้านอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม(Empowerment& Education) (1) การพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมความรู้ด้านกฎหมาย แก่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน เจ้าพนักงานตามกฎหมาย และ อปท. (2) ส่งเสริมความรู้ด้านการอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม แก่ประชาชน 3.4 ระบบข้อมูลในการดำเนินงานอาชีวอนามัยและ สิ่งแวดล้อม 3.5 การวิเคราะห์ความเสี่ยง และโอกาสพัฒนา
การติดตามและประเมินผล กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ประเด็นการตรวจ กรอบแนวทางการติดตามและประเมินผล 4. ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการเรื่องร้องเรียนการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ 4.1 การจัดทำนโยบาย แผนงานและงบประมาณ ของจังหวัดในเรื่องจัดการเรื่องร้องเรียนการ คุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ 4.2 การจัดระบบบริหารจัดการเรื่องร้องเรียน 4.3 การสื่อสารระบบการจัดการเรื่องร้องเรียนแก่ ประชาชนและผู้ที่เกี่ยวข้อง 4.4 ความสามารถตอบสนองต่อข้อร้องเรียนภายใน ระยะเวลาที่กำหนด 4.5 ระบบข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการเรื่องร้องเรียน 4.6 การวิเคราะห์ความเสี่ยง และ โอกาสพัฒนา
ตัวชี้วัดในการติดตามประเมินผล กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ผู้รับผิดชอบ 1. ระดับความสำเร็จของการจัดการปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพ อย. 2. ร้อยละของจำนวนตลาดประเภทที่ 2 ตามกฎกระทรวงว่า ด้วยสุขลักษณะของตลาด พ.ศ. 2551 ได้รับการติดตาม ประเมินคุณภาพ (ร้อยละ 80) กรมอนามัย 3. ร้อยละของจำนวนข้อร้องเรียนของผู้บริโภคด้านสุขภาพ ได้รับการแก้ไขภายในระยะเวลาที่กำหนด (ร้อยละ 98) (หมายเหตุ สถานบริการภาคเอกชน) อย./กรม สบส. 4. ร้อยละของเรื่องร้องเรียนของผู้บริโภคด้านบริการสุขภาพ ที่ได้รับการแก้ไขจนได้ข้อยุติ (ร้อยละ 57) กรม สบส. 5. ร้อยละของจำนวนข้อร้องเรียนเรื่องเหตุรำคาญ ตาม พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ.2535 ได้รับการจัดการ ตามขั้นตอนที่กำหนด (ร้อยละ 80)
ผลลัพธ์ที่ต้องการ Regulatory Body Service Providers การคุ้มครองผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ผู้บริโภคได้รับผลิตภัณฑ์ และบริการด้านสุขภาพ ที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ การคุ้มครองผู้บริโภค ด้านบริการสุขภาพ การบริหารจัดการ เรื่องร้องเรียน ข้อร้องเรียนของผู้บริโภค ลดลง/ได้รับการแก้ไข
Thank You !