โทรทัศน์สาธารณะกับจริยธรรม
จรรยาบรรณสภาการหนังสือพิมพ์แห่งชาติ ข้อบังคับว่าด้วยจริยธรรมแห่งวิชาชีพหนังสือพิมพ์ แนวปฏิบัติของผู้ประกอบวิชาชีพหนังสือพิมพ์ ขอบเขตการรับจ้างเขียนข่าวหรือบทความ การรับตำแหน่งเป็นกรรมการและที่ปรึกษา การมีส่วนได้เสียในธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับประชาสัมพันธ์ ฯลฯ แนวปฏิบัติการเสนอข่าวภาพข่าวสตรีและเด็กถูกละเมิด
จริยธรรมทางธุรกิจ ความรับผิดชอบทางสังคม ความรับผิดชอบทางจริยธรรม ความรับผิดชอบทางกฎหมาย ความรับผิดชอบทางเศรษฐกิจ
ปัญหาทางจริยธรรมของโทรทัศน์สาธารณะ ผลประโยชน์ทับซ้อน: วัฒนธรรมที่เกิดจากความคุ้นเคย การนำเสนอโดยมีวาระซ่อนเร้น (ข่าวและคร) ความเป็นส่วนตัวของผู้ตกเป็นข่าว: กรณีศึกษาข่าวการมีภริยาหลายคนของผู้ตายซึ่งเป็นที่รู้จัก ความพอดีของการรายงานข่าวบุคคล: เส้นแบ่ง คำหยาบ: ประเด็นหมิ่นประมาท แค่ไหน บริบท
ปัญหาทางจริยธรรมของโทรทัศน์สาธารณะ การพาดพิงบุคคลที่สาม: ความสมดุลในการนำเสนอ? บทบาทในการทำงานของสื่อ: บก. ผู้ผลิต ฯลฯ เรื่องที่หมิ่นเหม่ อ่อนไหว: วิธีการนำเสนอ
ปัญหาทางจริยธรรมของโทรทัศน์สาธารณะ เสรีภาพในการนำเสนอ: การถูกจำกัดสิทธิ (เลือกฝ่าย?) การถูกครอบงำ (กรณีสภาโจ๊ก) รายการเชิงพาณิชย์: ความรับผิดชอบต่อสังคม ความพอดี (ตบแล้วขายได้ ภาพโป๊)?
ปัญหาทางจริยธรรมของโทรทัศน์สาธารณะ สิทธิในการรับรู้กับการละเมิด การสร้างจิตสำนึกในการทำหน้าที่ด้วยกรณีศึกษา: คนทำเป็นคนคิด เสนอ แล้วตกลงที่จะทำร่วมกัน รายการกับการค้นคว้าก่อนนำเสนอ: งานวิจัยค้นคว้าของสถานี
ปัญหาทางจริยธรรมของโทรทัศน์สาธารณะ ข่าวกับความคิดเห็น: กรณีศึกษาการเล่าข่าว การใช้ข้อมูลทุติยภูมิ (ข่าวจากหนังสือพิมพ์) พาดพิงบุคคลในข่าว การเลือกเล่า เล่าไม่หมด ใส่ความเห็น นำเสนออย่างมีอคติ
ปัญหาทางจริยธรรมของโทรทัศน์สาธารณะ นโยบายในการนำเสนอ: จุดยืนทางการเมือง? จุดยืนทางสาธารณะ? ความรุนแรง: ภาพปืนจ่อหัว การเป็นมืออาชีพในวิชาชีพ: ข้อเท็จจริง ข้อกล่าวอ้าง การเผชิญหน้ากับบริบทเดิม ผู้บริหารสื่อกับความรับผิดชอบในการปกป้องเสรีภาพในการนำเสนอข่าวสาร
ปัญหาทางจริยธรรมของโทรทัศน์สาธารณะ ความพร้อมในการนำเสนอเรื่องที่มีผลกระทบต่อสาธารณะ: วิกฤตการณ์ การปกป้องสิทธิเสรีภาพ: การสนับสนุนการรวมตัวของผู้ปฏิบัติหน้าที่ การเซนเซอร์ก่อนนำเสนอกับการตรวจสอบหลังการเสนอ
โทรทัศน์สาธารณะกับจริยธรรม มโนธรรม จริยธรรมทางวิชาชีพ จิตสำนึกสาธารณะ
จิตสำนึกสาธารณะ เรื่องที่ควรเสนอ ควรรายงาน เพื่อสังคมที่สร้างสรรค์ เรื่องที่เห็นว่าจำเป็นต้องเสนอ แต่ก็ต้องกระทำอย่างระมัดระวัง เรื่องที่ต้องคิดให้รอบคอบ เพราะเมื่อเสนอไปแล้ว อาจมีผลเสียต่อส่วนรวมมากกว่าผลดีผลเด่นที่ได้รายงานข่าวหรือเขียนเรื่องนี้แต่ผู้เดียว