สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยที่ 13 ธุรกิจการเกษตร
Advertisements

คำขอขึ้นทะเบียน ตามแบบกปม/ทบ2 (ผู้ประกอบการประเภทอื่นๆ)
เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อทบทวนแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด 4 ปี (พ.ศ – 2561) ของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2556.
การพัฒนาเครือข่ายสถาบันเกษตรกรผู้ปลูกกาแฟ Coffee Cooperative Networks
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
นโยบายคณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ (Egg Board)
ยุทธศาสตร์การนำเข้า การค้าระหว่างประเทศมีมูลค่ากว่าร้อยละ 55 ของ GDP
บทที่ 4 การแปรรูป และการผลิตสินค้าอาหาร
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
การวางแผนและการดำเนินงานส่งเสริม
ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรของไทย
ความปลอดภัยด้านอาหาร (Food Safety)
ไม่ต้องจัดหา ต้องดูด้านคุณภาพ เป็นการสร้างเสริมปกป้อง สุขภาพของสาธารณะ.
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
กลยุทธการผลิตและการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวของประเทศไทย
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ
โครงการที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ.
โครงการยกระดับมาตรฐานฟาร์มเพาะเลี้ยงปลานิลเพื่อการส่งออก
การเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยในบ่อซิเมนต์
โครงการอาหารปลอดภัย (Food Safety)
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
แนวคิดการส่งเสริมปศุสัตว์ไทย
ตำบลนาตงวัฒนา อำเภอโพนนาแก้ว จังหวัดสกลนคร
เป็นที่ไว้วางใจของผู้ บริโภค
กระบวนการจัดการความรู้
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
Strategy Plan  ออม  การลงทุน  แก้ความจน ช่วยสังคม  เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย กำไร ความเข้มแข็ง ความ มั่นคง ทางการเงิน อย่างสมดุล / ยั่งยืนต่อเนื่อง ความเข้มแข็ง.
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
คุณสมบัติ ของ Smart Farmer -  1. รายได้ไม่ต่ำกว่า 180,000 บาท/ครัวเรือน/ปี  2. ผ่านคุณสมบัติพื้นฐาน (ผ่านอย่างน้อย 1 ตัวบ่งชี้ ของคุณสมบัติแต่ละด้าน)
ยุทธศาสตร์การค้าสินค้าเกษตรอินทรีย์ของกระทรวงพาณิชย์
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ ของขวัญปีใหม่ในปี 2547
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
การประชุมความคืบหน้าโครงการไตรภาคี
การทำธุรกิจแบบยั่งยืน การตลาดแบบแม่ไก่อารมณ์ดี
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
เกษตรอินทรีย์ (Organic)
มูลค่าการส่งออก-นำเข้าสินค้าไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ ปี
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
ไทยได้ประโยชน์อะไร จากการเปิดเสรีอาเซียน-จีน
วัตถุประสงค์ และผลผลิตหลักโครงการ
น.สพ.ไพรัช ธิติศักดิ์ 27 มกราคม 2553
ภาควิชาพัฒนาการเกษตร
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
แนวทางการบริหารจัดการผลไม้ระยะยาว
ความสำคัญ ของการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย โดย ดวงเดือน สมวัฒนศักดิ์ ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต สสข.1 ชัยนาท.
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
ทิศทางการพัฒนาการเกษตรไทย
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
การพัฒนาระบบการผลิตไก่พื้นเมืองฯ เพื่อสร้างโอกาส
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
ธุรกิจประมงและอุตสาหกรรมต่อเนื่อง
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
การแปรรูปผลิตภัณฑ์เพื่อต่อยอด ยุทธศาสตร์รายชนิดสัตว์
สัมมนากลุ่ม 3 คำถามข้อที่ 2 และ 5 เขต 7, 8, 9 21/8/14.
สรุปผลการจัดตั้งตลาดเกษตรกร ของสหกรณ์การเกษตรสบปราบ จำกัด จังหวัดลำปาง
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
หลักการและแนวทางจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ความร่วมมือไทย-ลาว ในเรื่อง Contract Farming (CF)
แผนธุรกิจ (Business Plan)
ผลการดำเนินงานวิจัยกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดตรัง
บทที่ 7 การดำเนินการผลิตในระบบอุตสาหกรรมเกษตร
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
ความสำคัญและประโยชน์ ของการวิจัยการตลาด
เรื่องที่นักส่งเสริมการเกษตรควรรู้
หน้าที่ทางการตลาด Marketing Function
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย สถานการณ์ปลาของประเทศไทย 27 มกราคม 2552 สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย

หัวข้อนำเสนอ อย่างยั่งยืน 1. ผลผลิตสัตว์น้ำจืด ประเทศไทย 1. ผลผลิตสัตว์น้ำจืด ประเทศไทย 2. อัตราการบริโภคปลาน้ำจืด 3. สถานการณ์การเพาะเลี้ยงปลาปี 2552 4. แนวทางพัฒนาการเพาะเลี้ยงปลาในประเทศไทย อย่างยั่งยืน 5. แนวโน้มการเพาะเลี้ยงปลาปี 2553

ผลผลิตสัตว์น้ำจืด

อัตราการบริโภคปลาน้ำจืด

สถานการณ์การเพาะเลี้ยงปลาปี 2552 1. เกษตรกรยังมีความต้องการสายพันธุ์ปลาที่มีคุณภาพ และมีปริมาณต่อเนื่องเพียงพอ 2. เกษตรกรยังต้องการความรู้และเทคนิคการเลี้ยงปลาเพื่อลดต้นทุนการเลี้ยง และเพิ่มคุณภาพผลผลิต 3. ขาดแหล่งเลี้ยงที่มีความเหมาะสม ทำให้การเลี้ยงต้องหยุดชะงัก ในช่วงขาดน้ำ 4. เกษตรกรมีการปรับปรุงฟาร์ม แต่ยังต้องการเงินทุน เช่น ปรับปรุงฟาร์มให้ได้ GAP, จดบันทึกข้อมูล, ปรับปรุงสุขาภิบาล เป็นต้น 5. ผู้บริโภคให้การยอมรับในคุณภาพของปลาที่มาจากการเลี้ยงมากขึ้น 6. ผู้บริโภคต้องการทราบข้อมูลปลาน้ำจืดมากขึ้น

แนวทางพัฒนาการเพาะเลี้ยงปลาในประเทศไทย อย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 1Œ สร้างความสามารถทางการผลิต ยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างมาตรฐานและความได้เปรียบทางการค้า ยุทธศาสตร์ที่ 3 สนับสนุนการบริโภคปลาที่ได้มาตรฐานในประเทศ

ยุทธศาสตร์ที่ 1Œ สร้างความสามารถทางการผลิต 1. ปรับปรุงพันธุ์ปลาให้มีคุณภาพ เช่น โตเร็ว, ทนต่อโรค, อัตราแลกเนื้อต่ำ, ผลิตได้ปริมาณต่อเนื่องเพียงพอ ฯลฯ 2. กำหนดชนิดพันธุ์ปลาที่จะให้เลี้ยงเพื่อส่งออก หรือเลี้ยงเพื่อบริโภคในประเทศ 3. สร้างมาตรฐานฟาร์มเพาะ เช่น สุขอนามัยในฟาร์มเพาะ, การเก็บอุปกรณ์ฟาร์ม 4. จัดหาแหล่งเงินทุน ดอกเบี้ยต่ำ สำหรับใช้ปรับปรุงฟาร์มเพาะฟักและฟาร์มเลี้ยง 5. รัฐจัดหาสาธารณูปโภค (Infrastructure) ที่เหมาะสมต่อการเลี้ยง เช่น ถนน, ไฟฟ้า, ระบบชลประทาน, แรงงานถูกกฎหมายให้พอเพียง เป็นต้น

ปรับปรุงพันธุ์ปลาให้มีคุณภาพ

ยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างมาตรฐานและความได้เปรียบทางการค้า 1. กำหนดมาตรฐานสินค้าปลาในประเทศ เช่น ผ่านมาตรฐาน Food Safety, GAP, Q MARK ประชาสัมพันธ์ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องในกระบวนการผลิตและผู้บริโภคทราบ 2. พัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกทางการค้า (Trade Facilitation) - สนับสนุนและสร้างสิ่งดึงดูด (Incentive) จูงใจให้ภาคเอกชนลงทุนสร้างระบบโรงงานแปรรูปสัตว์น้ำ, การพัฒนาผลิตภัณฑ์, แหล่งเงินทุน ดอกเบี้ยต่ำ - โครงการโควต้าลดภาษีเมื่อใช้วัตถุดิบในประเทศ เพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขัน - เพิ่มประสิทธิภาพการตรวจรับรองผลิตภัณฑ์ปลาเพื่อส่งออกในราคาที่ผู้ประกอบการยอมรับได้ 3. ตรวจสอบมาตรฐานปลาที่จะนำเข้า เช่น ใบรับประกันสัตว์น้ำ (Certificate), ตรวจ สอบการบิดเบือนตลาด และการอุดหนุนส่งออกของประเทศคู่ค้า

ยุทธศาสตร์ที่ 3 สนับสนุนการบริโภคปลาที่ได้มาตรฐานในประเทศ 1. ส่งเสริม มาตรฐานด้านสุขอนามัยของสถานประกอบการ, บริโภคปลาที่ปรุงสุกแล้ว 2. ประชาสัมพันธ์เรื่อง ปลาน้ำจืดที่ได้จากการเลี้ยงที่ถูกต้อง, สะอาด ตลอดจนคุณค่าทางโภชนาการที่ดีให้ผู้บริโภคทราบ 3. กิจกรรมเสริม เช่น ดูแลสุขภาพด้วยอาหารที่ทำจากปลาในสถานพยาบาล, รณรงค์ให้บริโภคปลา โดยผ่านสื่อต่างๆ, ประกวดเมนูปลาอนามัย เป็นต้น

เปรียบเทียบคุณค่าทางโภชนาการต่อ 100 กรัม (แหล่งข้อมูล : USDA Nutrient Data Lab)

แนวโน้มการเพาะเลี้ยงปลาปี 2553 1. มาตรฐานการเพาะเลี้ยงปลา เช่น ในกระชัง ในบ่อปูน เป็นต้น ได้รับการปรับปรุง ให้ดีขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค 2. เกษตรกรต้องวางแผนการผลิตโดยใช้วิชาการเลี้ยงปลาที่ถูกต้อง เพื่อให้สามารถพัฒนาคุณภาพผลผลิตและลดต้นทุนการผลิตลงได้ ตลอดจนเลือกปัจจัยการผลิตที่ดี 3. การเลี้ยงปลาในประเทศไทยจะก่อให้เกิดอาชีพเพิ่ม เช่น ขนส่งปลา, ทออวน, จับปลา, ร้านอาหารรูปแบบต่างๆ ฯลฯ ต้องส่งเสริมให้มีความยั่งยืนต่อไป

ภาพการเลี้ยงมาตรฐาน กระชัง

ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการเลี้ยงสัตว์น้ำ พันธุ์ดี อาหารดี การตลาดดี การสุขาภิบาลดี การจัดการดี

มีการจัดการ เลือกแหล่งน้ำที่ดี

แหล่งเลี้ยงดี อาหารคุณภาพดี

การกระจายสินค้าและจุดจำหน่าย

Modern Trade

Modern Trade

Modern Trade

Traditional Trade

Mobile

ปลาไทย อร่อย ปลอดภัย ได้สุขภาพ วันนี้ คุณกินปลาแล้วรึยัง

จบการนำเสนอ