การดำเนินการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (O-NET) ว่าที่ร.ต. ธนุ วงษ์จินดา ผอ.สพป . ประจวบคีรีขันธ์ เขต 2
อำนาจหน้าที่หลักของ สทศ. (พระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง สทศ. พ.ศ.2548 มาตรา 8) จัดทำระบบ วิธีการทดสอบและพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลตาม มาตรฐานการศึกษา (ขั้นพื้นฐาน ด้านการอาชีวศึกษา ระดับอุดมศึกษา) ประเมินผลการจัดการศึกษาและการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติและ ให้ความร่วมมือ สนับสนุน การทดสอบ ทั้งระดับเขตพื้นที่การศึกษาและ สถานศึกษา บริการสอบวัดความรู้ความสามารถ การสอบวัดมาตรฐานวิชาการและวิชาชีพ เพื่อนำผลไปใช้ในการเทียบระดับและการเทียบโอนผล การเรียนที่มาจาก การศึกษาในระบบเดียวกันหรือ การศึกษาต่างระบบ
อำนาจหน้าที่หลักของ สทศ. (ต่อ) (พระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง สทศ. พ. ศ อำนาจหน้าที่หลักของ สทศ. (ต่อ) (พระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง สทศ. พ.ศ.2548 มาตรา 8) ศึกษาวิจัยและเผยแพร่นวัตกรรมเกี่ยวกับการทดสอบทางการศึกษา ตลอดจนเผยแพร่เทคนิคการวัดและ ประเมินผลการศึกษา เป็นศูนย์กลางข้อมูลการทดสอบทางการศึกษา ตลอดจนสนับสนุน และให้บริการ ผลการทดสอบแก่หน่วยงานต่าง ๆ ได้ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
อำนาจหน้าที่หลักของ สทศ. (ต่อ) (พระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง สทศ. พ. ศ อำนาจหน้าที่หลักของ สทศ. (ต่อ) (พระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง สทศ. พ.ศ.2548 มาตรา 8) พัฒนาและส่งเสริมวิชาการด้านการทดสอบและประเมินผลทางการศึกษา รวมถึงพัฒนาบุคลากรด้านการทดสอบและประเมินผล ด้านการติดตามและประเมินผลคุณภาพบัณฑิต รวมทั้งการให้การรับรองมาตรฐานของระบบ วิธีการ เครื่องมือวัดของหน่วยงานการประเมินผลและทดสอบทางการศึกษา เป็นศูนย์กลางความร่วมมือด้านการทดสอบทางการศึกษา ทั้งในระดับประเทศ และระดับนานาชาติ samphan@niets.or.th
การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติของ สทศ. ชื่อย่อ ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ ชื่อเต็มภาษาไทย O-NET Ordinary National Education Test การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน V-NET Vocational National Education Test การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา U-NET University National Education Test การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอุดมศึกษา N-NET Non-Formal National Education Test การศึกษานอกระบบโรงเรียน I-NET Islamic National Education Test ด้านอิสลามศึกษา GAT General Aptitude Test การทดสอบความถนัดทั่วไป PAT Professional and Academic Aptitude Test การทดสอบความถนัดทางวิชาการและวิชาชีพ
การนำผลคะแนน O-NET ไปใช้ เป้าหมายปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง ให้คนไทยและการศึกษาไทยมีคุณภาพ ได้มาตรฐานสากล ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน มีคะแนนเฉลี่ยมากกว่า ร้อยละ 50 (ยุทธศาสตร์และตัวบ่งชี้การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ.2552-2561) นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (3 ก.พ. 53) ใช้คัดเลือก ฯ และปรับปรุงการเรียนการสอน
การนำผลคะแนน O-NET ไปใช้ (ต่อ) การประกันคุณภาพการศึกษา การประกันคุณภาพภายใน การประเมินคุณภาพภายนอก (สมศ.) รอบสอง(มาตรฐานที่5) รอบสาม(ตัวบ่งชี้ที่ 5)
การนำผลคะแนน O-NET ไปใช้ (ต่อ) การนำไปใช้ในการนิเทศและติดตามการสอนของครู การช่วยเหลือนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ต่ำ การจัดอบรมครู (งานวิจัยของ รศ.ดร.ทองอินทร์ วงศ์โสธร) samphan@niets.or.th
การนำผลคะแนน O-NET ไปใช้ (ต่อ) การให้รางวัลโดย - มูลนิธิบัณฑิตสภาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (นักเรียนที่มีผลการสอบ O-NET ได้คะแนนสูงสุดของประเทศ ในสาขาวิทยาศาสตร์) - สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน (เหรียญทองเงินทองแดง) - สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (OBEC Award)
ตารางเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย O-NET ป.6
ตารางเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย O-NET ม.3
ตารางเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย O-NET ม.6 test
การนำคะแนน O-NET ไปใช้ในการพัฒนา และยกระดับคุณภาพผู้เรียน ใช้ใบรายงานผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) นักเรียนและโรงเรียน สามารถ เข้ามาดาวน์โหลดได้ จากเว็บไซต์ สทศ. : www.niets.or.th test
ตัวอย่าง ผลการสอบ O-NET รายบุคคล (ระดับนักเรียน) samphan@niets.or.th test
ระดับนักเรียน สามารถดูผลคะแนนของตนเองในแต่ละวิชา ว่าสูงกว่าหรือต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของระดับโรงเรียน ระดับสังกัดและระดับประเทศ
สามารถประเมินและพัฒนาตนเอง ให้มีผลการเรียนดียิ่งขึ้น ระดับนักเรียน (ต่อ) สามารถประเมินและพัฒนาตนเอง ให้มีผลการเรียนดียิ่งขึ้น samphan@niets.or.th
ระดับนักเรียน (ต่อ) จากตัวอย่างผลการสอบจะเห็นได้ว่า วิชา 01 ภาษาไทย ได้คะแนน 84 คะแนน อยู่ในระดับดีมาก ซึ่งสูงกว่าค่าเฉลี่ย ระดับโรงเรียน (70.61 คะแนน) ระดับสังกัด (42.95 คะแนน) และระดับประเทศ (42.61 คะแนน)
ตัวอย่างผลการสอบ O-NET รายบุคคล ( ระดับสถานศึกษา)
ระดับครูผู้สอน สามารถดูผลคะแนนรายวิชาที่ตนเองสอน จากใบรายงานผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ฉบับที่ 1 เป็นการรายงานผลการสอบรายบุคคลของนักเรียน ทั้งโรงเรียนดังแสดงในภาพ
ระดับครูผู้สอน (ต่อ) หากดูคะแนนของนักเรียนทั้ง 10 ลำดับจะพบว่า นักเรียนลำดับที่ 7 มีผลคะแนน 43 คะแนน อยู่ในระดับปานกลาง และใกล้เคียงกับ ค่าเฉลี่ยระดับสังกัดมาก (42.95 คะแนน) ดังนั้นครูผู้สอนต้องดูแลนักเรียน ลำดับที่ 7 เป็นพิเศษ เป็นต้น
ตัวอย่างค่าสถิติระดับโรงเรียนแยกตามมาตรฐานการเรียนรู้ samphan@niets.or.th
ระดับครูผู้สอน ครูผู้สอนสามารถดูคะแนนในแต่ละมาตรฐานการเรียนรู้ (มาตรฐาน ท 1.1-5.1) และโดยรวมได้ในระดับโรงเรียน เทียบกับระดับจังหวัด ระดับสังกัด และระดับประเทศ ว่ากลุ่มสาระ ที่สอนมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับใด และมาตรฐานการเรียนรู้ใด ทีต้องปรับปรุง เช่น มาตรฐาน ท.5.1 ที่คะแนนเฉลี่ยของนักเรียน ระดับโรงเรียนได้ 9.20 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนเฉลี่ย ระดับจังหวัด (9.56 คะแนน) เป็นต้น samphan@niets.or.th
ระดับผู้บริหารสถานศึกษา สามารถพิจารณาค่าสถิติในทุกกลุ่มสาระวิชา และแยกย่อยรายมาตรฐานการเรียนรู้ พิจารณาผลการสอบ ในภาพรวมของวิชา จากคะแนนเฉลี่ยเทียบเคียงกับโรงเรียนที่อยู่ในจังหวัดเดียวกัน หรือโรงเรียนที่อยู่ในสังกัดเดียวกัน ที่มีสภาพแวดล้อมในการจัดการเรียนการสอน ที่ใกล้เคียงกัน และระดับประเทศ เพื่อนำมาปรับปรุงและพัฒนาการเรียนการสอนของโรงเรียนยิ่งขึ้น โดยใช้ระบบการนิเทศฯ แล้วส่งเสริม สนับสนุนฯ samphan@niets.or.th
ระดับเขตพื้นที่ ใบรายงานผลฉบับที่ 2 และ 3 ค่าสถิติระดับศูนย์สอบ (ป.6 และ ม.3) แยกตามมาตรฐานการเรียนรู้ แสดงคะแนนเฉลี่ยระดับเขตพื้นที่ ซึ่งนำไปใช้ในการส่งเสริม สนับสนุนสถานศึกษาในสังกัดได้ samphan@niets.or.th
ตัวอย่างค่าสถิติระดับโรงเรียนแยกตามสาระการเรียนรู้ samphan@niets.or.th
ใบรายงานผลฉบับที่ 5 ค่าสถิติระดับโรงเรียน แยกตามสาระการเรียนรู้ แสดงให้เห็นว่าคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนโรงเรียนนี้ในทุกสาระการเรียนรู้สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยทั้งในระดับจังหวัด สังกัด และประเทศ ยกเว้น สาระการเรียนรู้เกี่ยวกับวรรณคดีและวรรณกรรมได้คะแนนเฉลี่ยต่ำกว่าระดับจังหวัด samphan@niets.or.th
ระดับสังกัด ต้นสังกัดของโรงเรียนทุกโรงเรียน สามารถนำผลการสอบ O-NET ไปวิเคราะห์เพื่อพัฒนาครูผู้สอนในสังกัดให้มีความรู้ ความชำนาญในสาขาวิชาที่สอน กระตุ้นผู้บริหารสถานศึกษาให้นิเทศ กำกับติดตาม จัดทำระบบช่วยเหลือนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน รวมทั้งผลักดันให้มีการปรับปรุงและพัฒนาการเรียนสอน การวัดและประเมินผล samphan@niets.or.th
ระดับประเทศ กระทรวงศึกษาธิการสามารถนำผลการสอบ O-NET ไปส่งเสริม สนับสนุนให้ภายในปี พ.ศ. 2561 มีผลการสอบ O-NET 5 วิชาหลักของนักเรียนทั้งประเทศมีคะแนนเฉลี่ยมากกว่าร้อยละ 50 ตามเป้าหมายการปฏิรูปการศึกษา ในทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อคนไทยและการศึกษาไทยมีคุณภาพ และได้มาตรฐานสากล samphan@niets.or.th
เป้าหมายของ สพฐ. สพฐ. กำหนดเป้าหมายของค่าคะแนน O-NET ในช่วงชั้นที่ 2 คือ ป.6 ไปแล้ว ซึ่งเด็กจะต้องได้คะแนน ในวิชา ภาษาไทย และคณิตศาสตร์ ไม่ต่ำกว่า 40% สพฐ. เตรียมกำหนดเป้าหมายที่คาดหวังของค่าคะแนน O-NET ในช่วงชั้นที่ 3 และ 4 คือ ม.3 และม.6 ใน 3 วิชาหลัก ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ว่าเด็กควรจะได้คะแนน O-NET ไม่ต่ำกว่าเท่าใด โดยให้นำหลักวิชาและข้อมูลสถิติย้อนหลังมาเป็นตัวกำหนด samphan@niets.or.th test
การสอบ O-NET ปีการศึกษา 2554 วัดตามมาตรฐานและตัวชี้วัด ที่เป็นจุดเน้นของ สพฐ. ตามหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐานที่สอดคล้องกับการจัดการเรียนการสอนของ สถานศึกษา และจุดเน้นของ สพฐ. (สพฐ.จัดทำและส่งให้ สทศ. เมื่อเดือนมีนาคม 2554) จัดทำผังการออกข้อสอบ (Test Blueprint) ที่ให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง (ผู้แทนจาก สพฐ. ผู้บริหารสถานศึกษา ครู ศึกษานิเทศก์ คณาจารย์ ผู้ทรงคุณวุฒิ) มีส่วนร่วมพิจารณา samphan@niets.or.th
การสอบ O-NET ปีการศึกษา 2554 (ต่อ) 3. ให้ครูที่สังกัด สพฐ. (สพฐ. ส่งรายชื่อครูที่มีคุณสมบัติตามที่ สทศ. กำหนด เสนอให้ สทศ. พิจารณา) มีส่วนร่วมในการออกข้อสอบ พัฒนามาตรฐานของการทดสอบ (Standards of Testing) ให้มีคุณภาพ ดียิ่งขึ้น 5. จัดทำคลังข้อสอบ (Item Bank) 6. จัดตั้ง Examination Board
รูปแบบของข้อสอบ O-NET ปีการศึกษา 2554 samphan@niets.or.th
ตัวอย่างข้อสอบ O-NET ปีการศึกษา 2554
1. ปรนัย แบบเลือกตอบ 1.1) แบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก 1 คำตอบที่ถูกที่สุด (4 ตัวเลือก 1 คำตอบ)
1 ปรนัย แบบเลือกตอบ 1.2) แบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก 2 คำตอบที่ถูกต้อง (4 ตัวเลือก 2 คำตอบ)
1 ปรนัย แบบเลือกตอบ 1.3) แบบเลือกตอบ 5 ตัวเลือก 1 คำตอบที่ถูกที่สุด (5 ตัวเลือก 1 คำตอบ)
1 ปรนัย แบบเลือกตอบ 1.4) แบบเลือกตอบ 5 ตัวเลือก 2 คำตอบที่ถูกต้อง (5 ตัวเลือก 2 คำตอบ)
2. ปรนัยหลายตัวเลือก 1 คำตอบ
3. ปรนัยหลายตัวเลือก มากกว่า 1 คำตอบ
3. ปรนัยหลายตัวเลือก มากกว่า 1 คำตอบ (ต่อ)
4. แบบเลือกตอบจากแต่ละหมวดที่สัมพันธ์กัน
5. แบบระบายคำตอบที่เป็นค่า/ตัวเลข
รูปแบบข้อสอบของ สทศ. รูปแบบข้อสอบของสทศ. มี 4 แบบ คือ 1) แบบเลือกตอบ โดยเลือกตัวเลือกที่ถูกที่สุด 1 ตัวเลือก 2) แบบเลือกตอบ โดยเลือกตัวเลือกที่ถูกมากกว่า 1 ตัวเลือก 3) แบบเลือกหลายคำตอบจากหมวดคำตอบที่ให้ คำตอบที่ เลือกต้องเชื่อมโยงกัน 4) แบบระบายคำตอบที่เป็นค่าหรือตัวเลข samphan@niets.or.th
ข้อปฏิบัติในการสอบ O-NET ปีการศึกษา 2554 1.ระเบียบการเข้าห้องสอบ 1) ไม่มีเลขที่นั่งสอบ ไม่มีสิทธิ์สอบ 2) ไม่มีบัตรแสดงตน ไม่มีสิทธิ์สอบ 3) ไปผิดสนามสอบ ไม่มีสิทธิ์สอบ 4) ไปสายเกิน 30 นาที ไม่มีสิทธิ์สอบในวิชานั้น 5) ห้ามนำเครื่องมืออุปกรณ์สื่อสารเข้าห้องสอบ 6) ให้นั่งสอบจนหมดเวลา 7) อนุญาต ให้นำนาฬิกาเข้าห้องสอบ (ต้องเป็นนาฬิกาธรรมดา ที่ใช้ดูเวลาเท่านั้น)
ข้อปฏิบัติในการสอบ O-NET ปีการศึกษา 2554 2.อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำข้อสอบ 1. ปากกา ใช้สำหรับกรอกรายละเอียดต่าง ๆ บนหัวกระดาษคำตอบ 2. ดินสอดำ 2B ใช้สำหรับระบายรหัสวิชา เลขที่นั่งสอบ และคำตอบที่ต้องการเลือก (ผู้เข้าสอบระดับอิสลามศึกษาตอนต้น สทศ.จะจัดส่งไปให้) 3. ยางลบ (ผู้เข้าสอบระดับอิสลามศึกษาตอนต้น สทศ.จะจัดส่งไปให้) 4. กบเหลาดินสอ
ข้อปฏิบัติในการสอบ O-NET ปีการศึกษา 2554 3.หลักฐานที่ใช้ในการเข้าห้องสอบ บัตรประจำตัวนักเรียนที่มีรูป บัตรประชาชน หรือ หลักฐานอย่างอื่นที่สามารถใช้แสดงตัวตนของนักเรียน
ขอบคุณ