กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
Advertisements

การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ข้อ Comment โครงการ Teenaqe Mother จากผู้ตรวจราชการ 1. การสร้างความเข้าใจ และประสานความ ร่วมมือกับองค์กรภาคี - define บทบาทให้ชัดเจน ตีบทให้แตก แจก บทให้ผู้เกี่ยวข้องและสร้างความเข้าใจ.
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
การพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
25/07/2006.
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปี 2549.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ข้อเสนอการพัฒนา รพ.สต. เขตตรวจราชการที่ 3
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปการประชุม เขต 10.
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย นพ. นิทัศน์ ราย ยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บันได 3 ขั้น ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพ
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
ทีม นำ “ การนำที่มั่นคง และยั่งยืน ”. “ บางครั้ง การยอมถอยซักก้าว เราจะเห็นทะเลที่ใหญ่ และท้องฟ้าที่สดใสกว่าเดิม ”
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
ศูนย์พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
การวางแผนยุทธศาสตร์.
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
การพัฒนา คป.สอ/รพ.สต.ติดดาว
สกลนครโมเดล.
การประชุมกลุ่มย่อยผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง สาขาการพยาบาลชุมชน
กลุ่มที่ 11.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่ 1 2. การจัดการงบประมาณให้ รพ.สต. ที่เป็น ธรรม โปร่งใสและมีประสิทธิภาพ 3. การรักษาเบื้องต้น ระบบให้คำปรึกษา ทางไกล การเชื่อมต่อข้อมูลระบบส่งต่อระหว่าง ชุมชน สอ. และ รพ.

สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่ 1 ประเด็นที่ 1

โครงสร้างการนิเทศ นิเทศ พัฒนา เขต (นิเทศ  เขต)  นิเทศ พัฒนา จังหวัด (นิเทศ  จังหวัด)  นิเทศ พัฒนา CUP (นิเทศ  CUP)

ทีมนิเทศ ประกอบด้วย 1. นักวิชาการ, กรมกอง 2. ทีมจังหวัด (ที่รับผิดชอบ รพ.สต. และ SRM เขต) กระบวนการนิเทศ แบ่งเป็น 1. กระบวนการนิเทศแบบแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 2. กระบวนการนิเทศผ่านโครงสร้างปกติ

กระบวนการนิเทศแบบแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ข้อดีและข้อเสีย

ข้อดี 1.มีตัวอย่างความสำเร็จของการพัฒนา  เห็นตัวบริบท / ความหลากหลายของพื้นที่  ได้ความสัมพันธ์ / เครือข่าย / พี่ช่วยน้อง 2. เกิดความเชื่อมโยงในการพัฒนา 3. ต่อยอดความรู้ / การพัฒนาได้ตามบริบทของ ตัวเอง 4. การถ่ายทอดนโยบายชัดเจน 5. คนทำงานเกิดขวัญกำลังใจ 6. ผู้บริหารระดับสูงเห็นปัญหาของพื้นที่ด้วย ตนเองและสั่งแก้ไขปัญหาทันที

ข้อดี 7. ลดช่องว่างของการนิเทศเขตกับจังหวัด 8. ประสานช่องว่างของการทำงาน (บูรณา การ) ข้อเสีย 1. ใช้เวลามาก 2. งบประมาณไม่สอดคล้องกับภารกิจ (รูปแบบการ นิเทศ) บางเขต

กระบวนการนิเทศแบบผ่านโครงสร้างปกติ ข้อดีและข้อเสีย

ข้อดีข้อเสีย 1. ใช้ระยะเวลาสั้นกว่า กระบวนการนิเทศแบบ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 1. ผู้นิเทศไม่มีความ เข้าใจในงานและ บริบท 2. สนใจเฉพาะเรื่องของ ตัวแยกส่วน / ไม่สนใจ ภาพรวม 3. มีช่องว่างระหว่างผู้ นิเทศและผู้ถูกนิเทศ (มีปัญหาการสื่อสาร (สู่ผู้ปฏิบัติจริง))

ข้อสังเกต ประเด็นที่สำคัญ *** การแก้ปัญหาในงาน  (ควรมี) (SHOULD) มีศักยภาพในการคิดเชิงระบบ *** การแก้ปัญหาในบริบท  (ควรมี) (SHOULD) มีหัวใจของความเป็นมนุษย์ (เข้าใจเขา - เข้าใจเรา)

ข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 1. ปรับรูปแบบการนิเทศให้เป็นการนิเทศแบบสร้าง การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 2. พัฒนาโครงสร้างกลไกการนิเทศ ( สำนักดูแล ปฐมภูมิ ) ของงานทั้งหมด ทั้งระดับจังหวัดและเขต 3. มีเครื่องมือที่ใช้เป็นสื่อกลางการนิเทศ ( สื่อโดย แผน 4) ( แผนลงทุน, แผนกำลังคน, แผนพัฒนา ระบบบริการ, แผนคุณภาพ ) 4. มีเวทีสะท้อนกลับถึงผลในกลุ่มผู้ปฏิบัติ ( การ สื่อสาร 2 ทาง ) 5. มีแนวทางการนิเทศชัดโดยการปรับจากตัวชี้วัด ระดับ

6. ควรจัดงบประมาณตามรูปแบบการนิเทศ 7. มีการเตรียมผู้นิเทศให้เข้าใจ * งานปฐมภูมิ / รพ.สต. (แนวคิด, การเชื่อมโยง, แนว ทางการพัฒนา) * บริบทของพื้นที่ 8. พัฒนาความเข้าใจเกี่ยวกับปฐมภูมิให้กับคนทำงานทุก ระดับ เพื่อให้มีความพร้อมในการพัฒนา (มีการสื่อสาร นโยบายทางวิชาการ) 9. พัฒนาเจตนารมณ์ของตัวชี้วัดแต่ละข้อ รวมทั้งสื่อสาร นโยบายให้เกิดความเข้าใจอย่างชัดเจนเป็นแนวทางเดียวกัน 10. พัฒนาบทบาท CPU ในการพัฒนาปฐมภูมิ 11. Reconstruct โครงสร้างองค์กรในการทำงาน (องค์กร ประกอบของหน่วยประจำ) 12. การพัฒนาบริการต้องไม่ยึดติดกับการรักษาโรคมาก เกินไป

ประเด็นที่ 2 การจัดงบประมาณให้ รพ.สต. ที่เป็น ธรรม โปร่งใสและมีประสิทธิภาพ ข้อเสนอแนะทั้ง 12 ข้อ จะนำไปสู่การตอบ โจทย์หัวข้อที่ 2 คือเกิดความโปร่งใส ความเป็นธรรม และมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้หากมีแผนที่ดี จะทำให้ความเป็นธรรม โปร่งใส และมีประสิทธิภาพเกิดขึ้นได้ อันได้แก่ *** แผนลงทุน *** แผนกำลังคน *** แผนพัฒนาระบบบริการ *** แผนคุณภาพ

ประเด็นที่ 3 การรักษาเบื้องต้น ระบบให้คำปรึกษา ทางไกล การเชื่อมต่อข้อมูลระบบส่งต่อระหว่างชุมชน สอ. และ รพ. วิธีการต่างๆที่ปฏิบัติอยู่ 1. พัฒนาด้วยการอบรมพยาบาลเวชปฏิบัติทั่วไป (Nurse Practitioner - NP) 2. พัฒนา Infrastructure *** เครื่องไม้เครื่องมือทางการแพทย์ *** Web camera *** Skype *** Mobile phone 3. พัฒนาแนวปฏิบัติทางคลินิก (Clinical Practice Guideline - CPG)

4. พัฒนาเวชภัณฑ์ 5. พัฒนาระบบเชื่อมโยงฐานข้อมูลผู้ป่วย (Patient) ระหว่างปฐมภูมิกับฑุติยภูมิ เพื่อ นำไปสู่ * Patient Care Management (การใช้ ผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง) * ลดความแออัด (รพ.) * พัฒนาประสิทธิภาพและบทบาทปฐม ภูมิ * สร้างศรัทธาให้กับปฐมภูมิ * สร้างความสัมพันธ์ระหว่างปฐมภูมิ และฑุติยภูมิ

ประสิทธิภาพ การรักษาเบื้องต้น ระบบให้คำปรึกษาทางไกล การเชื่อมต่อข้อมูลระบบส่งต่อ ระหว่างชุมชน สอ. และ รพ. พัฒนา NP พัฒนา CPG พัฒนา Infrastructure พัฒนา เวชภัณฑ์ พัฒนาเชื่อม โยมฐานข้อมูล ผู้ป่วย

ข้อเสนอแนะการแก้ปัญหาทั้งระบบ *** ควรมีวาระนโยบาย (Policy Agenda) ที่ ไม่ยึดติดกับการเมืองหรือรัฐบาลแต่ละสมัย *** สร้างเกณฑ์ความเข้าใจ 4 หมวด 22 ข้อ ให้ชัดเจน เพื่อนำไปสู่ความชัดเจนเชิง นโยบายสู่ปฏิบัติ (Clearly Policy to Practice – CP2P)