โรงพยาบาล หน่วยบริการ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
Advertisements

กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
ราชบุรี, สุพรรณบุรี นครปฐม, กาญจนบุรี
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ชื่อตัวบ่งชี้ : 5.3 มีการกำหนดแผนกลยุทธ์ที่ เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติ ( ระดับ ) 1. จุดอ่อน 1. เนื่องจากบุคลากรแต่ละคนมีภาระงานที่ต้อง รับผิดชอบหลายด้าน.
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
กระบวนการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและการวางแผน
สวัสดีครับ.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
แนวทางการสนับสนุนงบประมาณ องค์กรเอกชนด้านเอดส์
หัวหน้ากลุ่มโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การบริหาร ยุทธศาสตร์บูรณา การการป้องกันและ แก้ไขปัญหาเอดส์ ระดับจังหวัด กลุ่มผู้ติดเชื้อ เอชไอวี
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ในภาพรวมของเขต สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 4 จ. ราชบุรี
สถานการณ์เอดส์ เด็ก 28 ราย ผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์สะสม ทั้งจังหวัด
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต เขต 8 นครสวรรค์ นครสวรรค์ กำแพงเพชร อุทัยธานี
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแล ผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 12.
การบูรณาการงาน HIV CARE สู่งานพัฒนาคุณภาพ
โรงพยาบาลทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ ขนาด 60 เตียง
25/07/2006.
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การพัฒนาระบบการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
เป็นนโยบายต่อเนื่อง ซึ่งกำหนดให้มี การพัฒนาหน่วยงานให้เป็นองค์กร แห่งการเรียนรู้ ด้านกำลังพล.
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปการประชุม เขต 10.
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค และกฎหมาย
การจัดการความรู้ด้านสุขภาพ
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
จุดอ่อน คณะกรรมการศูนย์ฯ ได้รับเบี้ยประชุมน้อย ขาดสวัสดิการ
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
บันได 3 ขั้น ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพ
ข้อคำถามที่ 1 จงตอบคำถามต่อไปนี้
IM I-4 การวัด วิเคราะห์ performance ขององค์กร และการจัดการความรู้
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
ประจำเดือนมกราคม 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี
ศูนย์ประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วย
การบริหารและพัฒนาบุคลากร HR /HRD
การวางแผนยุทธศาสตร์.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
1. การ ดำเนินงานตามกฎระเบียบ การประกันสังคม 2. ความสามารถ ในการดำเนินการ เรียกเก็บเงินได้ตามกำหนด 3. ความรวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วนใน การให้บริการ 4. การมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย.
หลักการเขียนโครงการ.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
PCT ทีมนำทางคลินิก.
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรงพยาบาล หน่วยบริการ

สรุปผลการประชุมกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กลุ่มหน่วยบริการ(โรงพยาบาล) จุดแข็ง 1.คนทำงานมองเห็นความสำคัญ ทำให้รู้เป้าหมายในการดูแลรักษาได้มาตรฐาน 2.ทีมงานให้ความร่วมมือในการจัดทำโครงการ 3.การบริหารจัดการระบบการจัดทำโครงการพัฒนาคุณภาพ เชื่อมโยงไปถึงระดับผู้บริหาร 4.การสนับสนุนของระดับนโยบายและตอบสนองการทำงาน

จุดแข็ง 5.ได้รับสนับสนุนของระดับนโยบายและตอบสนองการทำงาน 6.มีการประสานงานลงสู่ชุมชน โดยมีอสม. แกนนำผู้ติดเชื้อ 7.มีระบบข้อมูลที่สมบูรณ์ ครบถ้วน ทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม เศรษฐกิจ รวมทั้งการติดตาม Adherence ของผู้ป่วย

จุดอ่อน 1.การเชื่อมโยงข้อมูลจากผู้ปฏิบัติสู่ผู้บริหาร ยังมีการนำเสนอน้อย 2.ยังไม่เป็นตัวชี้วัด ในระดับของโรงพยาบาล 3.การพรรณนาตัวชี้วัด บางตัวชี้วัด ค่อนข้างจะพัฒนายาก เช่น Pap smear ซึ่งเกี่ยวข้องกับทัศนคติ(ปัจเจกชน) ของผู้รับบริการ 4.งานเอดส์เป็นงานที่มีโปรแกรมสำเร็จมาก บางครั้งซ้ำซ้อน คนรับผิดชอบงานเป็นคนเดียวกัน แต่ต้องลงโปรแกรมหลายโปรแกรม

โอกาสพัฒนา 1.กำหนดบทบาทหน้าที่บุคลากร(ทีมงาน)ให้ชัดเจน มีการติดตามผล 2.การทำงานเป็นทีมสหวิชาชีพ ควรมีการพัฒนาความรู้ อย่างต่อเนื่องจากความรู้ของโรคเอดส์ และโปรแกรมมีการพัฒนาอยู่เสมอ 3.ควรนำงานเอดส์เชื่อมโยงเข้าสู่กระบวนการพัฒนางานคุณภาพของโรงพยาบาล(HA)

ภาวะคุกคาม 1.เจ้าหน้าที่มีจำนวนน้อย งานเยอะ อัตรากำลังจำกัด 1.เจ้าหน้าที่มีจำนวนน้อย งานเยอะ อัตรากำลังจำกัด 2.การเข้าถึงระบบบริการยาก 3.เปลี่ยนผู้รับผิดชอบงานบ่อย ,สัมพันธภาพน้อย ,จำนวนผู้ป่วยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว 4.สวัสดิการดูแลรักษาผู้ป่วยมีหลายสิทธิ และเปลี่ยนแปลงบ่อย เช่น UC , ราชการ,ปกส. 5.ปริมาณผู้ป่วยมักไปกองอยุ่ที่เดียว เช่น รพ.จังหวัด

สคร.11/สสจ. หน่วยสนับสนุน

สรุปผลการประชุมกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กลุ่มหน่วยสนับสนุน(สคร./สสจ.) จุดแข็ง 1.ผู้รับผิดชอบเห็นความสำคัญของโครงการ 2.มีการประสานงานระหว่างผู้ปฏิบัติกับระดับนโยบาย สามารถรับทราบปัญหาและแนวทางในการทำโครงการ และวางแผนงาน

จุดอ่อน 1.ยังไม่มีข้อมูลเสนอผู้บริหาร (รพ.จะส่งข้อมูลให้กับเขตโดยตรง) 2.ผู้รับผิดชอบงานเปลี่ยนงาน 3.งบประมาณมีเฉพาะโครงการ จำกัดช่วงเวลา จึงทำให้ไม่สามารถพัฒนาได้อย่างต่อเนื่อง เนื่องจากต้องรองบประมาณ 4.ไม่มีการนำเสนอ ผลการดำเนินงานให้จังหวัดทราบ

โอกาสพัฒนา 1.สสจ. ควรมีแผนการติดตามข้อมูล จาก รพ. ให้ชัดเจน เช่น กำหนดวันที่จัดส่งรายงานของ รพ. 2.สสจ. ควรมีการวางแผนงบประมาณสำรองไว้สำหรับงานเอดส์ สำหรับตัวชี้วัด ที่ยังไม่ผ่าน เพื่อสำรองไว้ หากไม่ได้งบประมาณสนับสนุนจากองค์กรภายนอก 3.ควรจะมีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในจังหวัด ด้วยรูปแบบการพัฒนา มากกว่าการแข่งขัน

ภาวะคุกคาม 1.ความไม่แน่นอนของนโยบาย 2.เปลี่ยนผู้รับผิดชอบบ่อย

สวัสดี