การจัดทำแผนยุทธศาสตร์สุขภาพ ประจำปี 2551

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Health Promotion & Prevention
Advertisements

งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
Health Promotion & Prevention
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การจัดทำแผนปฏิบัติการ
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
HPC 11 กรอบแนวทางการดำเนินงาน นโยบายกรมอนามัย ศูนย์อนามัยที่ 11 ปีงบประมาณ 2553 กลุ่มยุทธศาสตร์ 31 กค. 52.
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
ผังการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีเพชร
ยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาพฤติกรรมวัยรุ่น จังหวัดเพชรบุรี
การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล
การวางแผน การวางแผน เป็นกระบวนการตัดสินหรือกำหนดกิจกรรมและการดำเนิน การเพื่อนำไปสู่การบรรลุเป้าหมาย อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล.
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
วาระที่ 3.5 การขอสนับสนุนงบประมาณ จากกองทุนสิ่งแวดล้อม
คู่มือการจัดทำแผนปฏิบัติการ ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
การติดตามประเมินผล ปี 2552
นพ. จักรกริช โง้วศิริ ผจก. กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปการประชุม เขต 10.
กลุ่มที่ 3.
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
การดำเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบบูรณาการ สู่
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
“โครงการสร้างสุขระดับจังหวัด….” จากแผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิต(สสส.)
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
กรอบการบริหารงบบริการ การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
การตรวจราชการและนิเทศงานฯ
ผังแนวคิดการทำงานกองทุน หลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เทศบาลตำบลเชียงคำ คณะกรร มการ กองทุนฯ กระบวนการ ทำงานหลักการ มีส่วนร่วมของ ทุกภาคส่วน หลักชัย ชาวเทศบาลตำบล.
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
ทันตสาธารณสุข นำเสนอความสำเร็จตัวชี้วัด Functionปี 54
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ชี้แจงหลักเกณฑ์การโอนเงิน ระเบียบการเบิก-จ่ายงบประมาณ
ระบบข้อมูลสารสนเทศ 4.2 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด : ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถ.
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดทำแผนยุทธศาสตร์สุขภาพ ประจำปี 2551

กรอบการจัดทำแผนยุทธศาสตร์สุขภาพจังหวัดเพชรบุรี ปี 2551 1. แผนงาน/โครงการตามตัวชี้วัด ในแผนการตรวจราชการ 12 เรื่อง 40 โครงการ 64 ตัวชี้วัด 2. แผนงาน/โครงการตามตัวชี้วัด นโยบายกระทรวง กรม จังหวัด 3. แผนงาน/โครงการตามสภาพปัญหา ของพื้นที่

ระบบ ขั้นตอน และกระบวนการจัดทำแผนแก้ปัญหาพื้นที่ ภายใต้งบสร้างเสริมสุขภาพ โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า “ร่วมกันคิด ช่วยกันทำ”

แนวคิด 1 เปลี่ยนบทบาท ไปสู่การใช้แผนเป็นเครื่องมือ และบูรณาการใช้จ่ายงบประมาณ ภายใต้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วม 2 กรอบยุทธศาสตร์ PP ประกอบด้วย กรอบแผนงานระดับประเทศ และระบบ ขั้นตอน วิธีการจัดทำแผน 3 ระดับเขต กสธ.-สปสช. ร่วมกันทำกรอบแผน PP เขต และจังหวัดเสนอแผนพัฒนาศักยภาพระบบ 4 ระดับจังหวัด จัดทำแผน PP จังหวัด อำเภอ ตำบล 5 แยกงบพัฒนาศักยภาพและพัฒนาระบบ (บริหาร)

การบริหารงบ PP กรอบแผนงานสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก ภาพรวม แผน PP ระดับเขต (PPA) แผน PP ระดับ จว. (PPA) แผน PP ระดับตำบล (PPC) แผนพัฒนาศักยภาพจังหวัด แผนพัฒนาโครงการนำร่อง เขต แผน PP จังหวัด แผน PP อำเภอ แผน PP กองทุน แผน PP ตำบล 10 บาท 2.40 บาท 20.21 บาท 37.50 บาท งบพัฒนาฯ 0.06 บาท งบพัฒนาระบบ 2.94 บาท คกก. PP ระดับเขต คกก. PP ระดับจังหวัด

องค์ประกอบ คกก. PP ระดับเขต (สธ.) (สปสช.) (อปท.) ผตร.เขต ประธาน อบปข. สธน.เขต ผอ.สปสช.สาขา ผอ.ศูนย์เขต ผู้แทน สปสช. 4 คน ผู้แทน อบจ. นพ.สสจ.ทุกแห่ง ผู้แทน เทศบาล ผู้แทน รพศ./รพท. ผู้แทน อบต. ผู้แทน รพช. ผู้แทน สสอ. นักวิชาการ 3 คน

องค์ประกอบ คกก. PP ระดับจังหวัด (สธ.) (สปสช.) (อปท.) นพ.สสจ. ผชช.ว/ส ผู้แทน สปสช.สาขา ผอ. รพศ./รพท. ผู้แทน เทศบาล ผู้แทน รพช. ผู้แทน อบต. ผู้แทน สสอ. ผู้แทน อสม. ผู้แทน สอ. นักวิชาการ

ก. แผนสร้างเสริมสุขภาพ ระดับเขต (PPA) แผนเขต ก. แผนสร้างเสริมสุขภาพ ระดับเขต (PPA) 1. แผนพัฒนาศักยภาพการทำงาน PP ของจังหวัด (จัดสรรตาม Composite Indicators 10 บาท/หัว) 2. แผนพัฒนาโครงการนำร่องแก้ปัญหาสุขภาพ ระดับเขต (2.40 บาท/หัว) 3. งบพัฒนาระบบ (บริหารจัดการ 0.06 บาท/หัว)

ขั้นตอนระดับเขต กรอบแผนงานสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก ภาพรวม คกก. PP ระดับเขต สภาพปัญหาระดับเขต กรอบงาน PP ระดับเขต (PPA) ธค.50 แผนพัฒนาศักยภาพจังหวัด โครงการนำร่อง ระดับเขต มค.51 สสจ. ศูนย์วิชาการ

แผนพัฒนาศักยภาพของจังหวัด แผนจังหวัด แผนพัฒนาศักยภาพของจังหวัด 1. การเสริมสร้างความเข้มแข็งของจังหวัด เช่น การนิเทศ กำกับ ติดตามการปฏิบัติ การเสนอรายงานวิเคราะห์ผลการปฏิบัติงาน 2. การพัฒนาบุคลากร 3. การศึกษาวิจัย และจัดการความรู้ 4. การพัฒนาระบบฐานข้อมูลสุขภาพของจังหวัด

ข. แผนสร้างเสริมสุขภาพ ระดับจังหวัด แผนจังหวัด ข. แผนสร้างเสริมสุขภาพ ระดับจังหวัด 1. แผนแก้ปัญหาสุขภาพพื้นที่ ทั้งจังหวัด 2. แผนพัฒนาศักยภาพการทำงานของจังหวัด 3. งบบริหารจัดการ ระดับจังหวัด อำเภอ

ค. แผนสร้างเสริมสุขภาพ ระดับตำบล แผนตำบล ค. แผนสร้างเสริมสุขภาพ ระดับตำบล 1. แผนแก้ปัญหาสุขภาพ ภายใต้กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับตำบล (PPC) (คกก.บริหารกองทุนสุขภาพตำบล) 2. แผนแก้ปัญหาสุขภาพ ระดับตำบล ที่ยังไม่มีกองทุน (PPA) (PCU / CMU)

ขั้นตอนระดับจังหวัด กรอบแผนงานสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก ภาพรวม คกก. PP ระดับจังหวัด สภาพปัญหาระดับจังหวัด กรอบกลยุทธ PP ระดับจังหวัด (PPA) ธค.50 แผนพัฒนาศักยภาพจังหวัด แผน PP จังหวัด แผน PP อำเภอ แผน PP ตำบล มค.51 สสจ. สสอ./รพช. PCU/CMU

ระบบกำกับ/ประเมินผล การจัดทำแผน ระยะเวลาแล้วเสร็จ สาระของแผน (ความครอบคลุม ความสอดคล้องปัญหา ความเหมาะสมของวิธีการ) การดำเนินงานตามแผน การปรับแผน ผลการดำเนินงาน ปัญหาสุขภาพลดลง รายงานผลรายไตรมาส และรายงานประจำปี (กิจกรรม และการใช้จ่ายงบประมาณ) การประเมินผล (ภาพรวม / เฉพาะเรื่อง)

การกำหนดปัญหา 1. ปัญหาด้านส่งเสริมสุขภาพ 2. ปัญหาด้านป้องกันโรค 3. ปัญหาด้านคุ้มครองผู้บริโภค 4. ปัญหาด้านการพัฒนาระบบ

การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา กรอบแผนงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับประเทศ Vertical Programs (8 โครงการ) ปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ 14 ปัจจัย ภาระทางสุขภาพ 20 อันดับแรกของประชากรไทย พ.ศ. 2547 Composite Indicators Top ten DALY Loss (2004) Epidemiologic Data Others

Vertical Programs โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค โครงการโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว โครงการวัยเรียน วัยใส อนามัยดี๊ดี โครงการส่งเสริมสุขภาพและเฝ้าระวังโรควัยทำงาน โครงการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน และเฝ้าระวังโรคกลุ่มผู้สูงอายุ โครงการพัฒนาระบบการรักษาเร่งด่วนในโรคหลอดเลือดสมองตีบ (Stroke Fast Track) โครงการค้นหาพาหะและป้องกันโรคฮีโมฟิเลีย โครงการฟันเทียมพระราชทาน

DALY Loss Loss 2004

ประเด็นปัญหา/สถานการณ์(ความเสี่ยง) กรอบกลยุทธ์ในการแก้ปัญหา ประเด็นปัญหา/สถานการณ์(ความเสี่ยง) กลยุทธ์ ค่าเป้าหมาย กิจกรรมหลัก

Operational Plan (Project) Format ชื่อโครงการ Title หน่วยงานที่รับผิดชอบ Responsible Unit หลักการและเหตุผล Background and Rationale วัตถุประสงค์ Objective เป้าหมาย Target กลวิธี Tactic กิจกรรม Activities ระยะเวลา Period งบประมาณ Budget การประเมินผล Evaluation ผลที่คาดว่าจะได้รับ Expected Outcome

แบบฟอร์ม แผนงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับจังหวัด โครงการ กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์/เป้าหมาย ตัวชี้วัด ระยะเวลา งบประมาณ หน่วยงานรับผิดชอบ ผลการดำเนินงาน หมายเหตุ 1. 2.