งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นพ. จักรกริช โง้วศิริ ผจก. กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นพ. จักรกริช โง้วศิริ ผจก. กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการบริหารจัดการ งบกองทุนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค งบประมาณ 2552 “ ร่วมกันคิด ช่วยกันทำ”
นพ. จักรกริช โง้วศิริ ผจก. กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

2 หลักเกณฑ์และเงื่อนไข งบฯ P&P
เป็นบริการรายบุคคลและครอบครัวสำหรับคนไทยทุกสิทธิ ขอบเขตการใช้งบฯ - ค่าชดเชยบริการแก่หน่วยบริการ/สถานพยาบาล/หน่วยงานที่จัดบริการ P&P - ดำเนินการแก้ไขปัญหาสาธารณสุข (P&P) ระดับประเทศและพื้นที่ - สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพการดำเนินงาน P&P - สนับสนุนนวัตกรรมพัฒนาระบบบริการ P&P - สร้างแรงจูงใจโดยจัดสรรตามผลงานการบริการ P&P สปสช. สาขาจังหวัดและเขตฯ กทม. เป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลักในการบูรณาการให้เกิดการบริการ ภายใต้การจัดการและกำกับติดตามประเมินผลด้านงบประมาณโดย คกก. P&P เขตและคณะอนุฯหลักประกันสุขภาพระดับเขตพื้นที่ (อปสข.)

3 โครงสร้างงบ PP ปี 2552 PP Community (37.50) Expressed demand (109.86)
สสจ. และ สาขา กทม.เป็น P&P manager และประเมินผลงานตาม composite indicator คำนวณจาก บาทต่อปชก.สิทธิ UC จำนวน ล้านคน PP Capitation ( บาทต่อหัว) ล้านคน PP National Priority Program (15.36) ระดับประเทศ PP Community (37.50) Expressed demand (109.86) หักเงินเดือน PP Area based (31.00) ไม่หักเงินเดือน กองทุนตำบล (พื้นที่ที่ไม่มีกองทุนตำบล) จังหวัดแจ้งผลจัดสรรให้ สปสช.เพื่อโอนให้ Cup & PCU กรม Diff. by age group สปสช. สาขาจว. 70% สปสช. สาขาเขต 30 % UC NON-UC CUP ตามผลงาน Expressed demand 7 กิจกรรมหลัก ได้แก่ ANC, PNC, FP, EPI ทุกช่วงอายุ, อนามัยเด็กเล็ก Sealant เด็กอายุ 6 – 12 ปี, การตรวจคัดกรองความเสี่ยง

4 P&P Vertical (977.44 ล้านบาท)
P&P Vertical Program หรือ P&P National Priority Program and Central Procurement P&P Vertical ( ล้านบาท) (15.36 บาท x คน) Central Procurement ( ลบ.) Vaccine ลบ. พิมพ์สมุดบันทึกสุขภาพ - แม่และเด็ก ลบ. - นักเรียน ลบ. PKU milk ลบ. National Priority Program ล้านบาท National Health Need : (cost & preventive benefit) Policy or National strategy Short term Program to be Routine service

5 P&P Expressed demand services
หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการจัดสรรและจ่ายเงิน สิทธิ UC 1. จัดสรรโดย Differential Capitation ระดับจังหวัด ตามโครงสร้างอายุ ปชก. 2. จัดสรร 4 งวด (ต.ค. 51, ม.ค. เม.ย. ก.ค. 52) งวดละ 25% ยกเว้นหน่วยบริการนอกสังกัด สธ. และเอกชนจ่ายพร้อม การจัดสรร OP

6 P&P Expressed demand services
สิทธิประโยชน์ของ ปชก. ทุกสิทธิ จ่ายเป็นค่าชดเชยบริการรายบุคคล ประเภทบริการ UC. SSS. CSMBS. ANC. + เงินสมทบ<7 เดือน มีสิทธิฯ PNC. FP. ยกเว้นทำหมัน EPI. - อนามัยเด็กเล็ก Sealant ตรวจคัดกรองฯ (รวมมะเร็งปากมดลูก) (ยกเว้นมะเร็งปากมดลูก) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

7 P&P Expressed demand services
สิทธิ NON-UC (SSS. , CSMBS.) อัตราค่าบริการ ประเภทบริการ อัตราบริการ บ./ครั้ง/ราย SSS. CSMBS. ANC. ครั้งแรกไม่เกิน ,200 ครั้งถัดไปไม่เกิน + ตามสิทธิ PNC. ครั้งเดียวไม่เกิน FP. (รวมค่าวัสดุ) ยาเม็ดคุมกำเนิด ยาฉีดคุมกำเนิด ยาฝังคุมกำเนิด ,500 ห่วงอนามัย การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก Pap smear (รวมค่าป้ายและอ่านผล) VIA. - ค่าตรวจไม่เกิน - จี้ด้วยความเย็นไม่เกิน

8 การคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
1. การคัดกรองความเสี่ยง 1.1 เป้าหมาย 20% ปชก. อายุ 15 ปีขึ้นไปทุกสิทธิ 1.2 การจัดสรรงบประมาณ UC รวมอยู่ใน Capitation Non – UC จัดสรรดังนี้ -โอนงบล่วงหน้า 30% ของงบประมาณที่คำนวณจากเป้าหมาย - งวดถัดไปจ่ายตามผลงานโดยหักจากยอดโอนล่วงหน้า 30% 2. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ดำเนินการดังนี้ 2.1 กำหนดเป้าหมาย 10% ของกลุ่มเสี่ยงที่คัดกรองและจัดลำดับ ความสำคัญโดยคำนึงถึงขนาด ความรุนแรง ภาระโรค ศักยภาพ 2.2 หน่วยบริการ/สถานพยาบาล จัดทำแผนงาน/โครงการฯ โดยผ่านความเห็นชอบของ สสจ. และผ่านการอนุมัติโดย สปสช. เขต 2.3 เน้นการติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะกลุ่ม Metabolic (DM. HT. Obesity) หมายเหตุ งบจัดสรรให้หน่วยบริการโดยโอนผ่าน สปสช. สาขาจังหวัด (สสจ.)

9 ขอบเขต/กิจกรรมที่อยู่ภายใต้งบ PP COM.
- การเยี่ยมบ้าน และผู้ป่วยโรคเรื้อรังอย่างต่อเนื่อง - อนามัยโรงเรียน - อนามัยชุมชน

10 หลักเกณฑ์การจัดสรรงบ P&P Com.
จัดสรร Global ระดับจังหวัด โดยใช้ฐานข้อมูล ปชก. (ไม่หักเงินเดือน) ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2551 ดังนี้ 1. ข้อมูลการลงทะเบียนผู้มีสิทธิหลักประกันสุขภาพฯ 2. ข้อมูลการลงทะเบียนผู้มีสิทธิประกันสังคม 3. ข้อมูลทะเบียนราษฎร์ผู้มีสิทธิสวัสดิการข้าราชการ สสจ. อปท. และ สปสช. เขต ร่วมหารือปรับฐานประชากรเพื่อจัดสรรงบฯ ทั้งนี้ให้คำนึงถึง ปชก. ที่อยู่จริง แนวทางจัดสรรแบ่งเป็น 2 กรณี 1. กองทุนตำบล จัดสรรเมื่อมีการลงนามในข้อตกลง (ก.ย.-ต.ค.51) จัดสรรงวดเดียว บาท/ปชก. ตามที่แจ้งจาก สสจ. 2. จัดสรรให้หน่วยบริการ/สถานพยาบาล ตามยอดงบประมาณที่แจ้ง โดยแบ่งจัดสรร เป็น 2 งวด ดังนี้ 2.1 งวดแรก โอนล่วงหน้า 50% ภายใน ต.ค. 2551 2.2 งวดที่ 2 โอน 50% ภายใน ม.ค. 2552

11 P&P Area - based วัตถุประสงค์
1. แก้ไขปัญหาสุขภาพของประชาชนให้สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการบริการสาธารณสุขในพื้นที่ 2. สนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบายสำคัญ โดยเฉพาะ - การตรวจค้นหามะเร็งปากมดลูก - การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงและติดตามต่อเนื่องในกลุ่ม Pre DM. , Pre HT. , ภาวะอ้วน 3. พัฒนาศักยภาพและสร้างความเข้มแข็งของหน่วยงาน 4. พัฒนานวัตกรรมระบบบริการ P&P 5. กำกับติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน P&P ในพื้นที่

12 โครงสร้างการจัดสรรงบ PP Area based ( 31.00 บาท/ปชก.)
30 % ระดับเขต 9.30 บาท/ปชก. 70 % ระดับจังหวัด บาท/ปชก. สนับสนุนพัฒนาระบบบริการ~ 2 บาท/ปชก. สนับสนุนการดำเนินงานในพื้นที่ 7.30 บาท/ปชก. เพื่อจัดบริการและแก้ไขปัญหาตามแผนงาน/โครงการ ของคณะกรรมการระดับจังหวัด โดยปี 52 ให้เน้นหนัก - แก้ไขปัญหาทางสุขภาพ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของพื้นที่ระดับจังหวัด อำเภอ - ตรวจหามะเร็งปากมดลูก -ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ภาวะอ้วน - สนับสนุนและแก้ไขปัญหาให้บรรลุเป้าหมายตาม ตัวชี้วัดที่กำหนด -พัฒนาระบบ -พัฒนาศักยภาพฯ -นวตกรรม /แก้ไขปัญหาระดับเขต -สร้างแรงจูงใจ

13 แนวทางการจัดสรรงบ P&P Area - based
จัดสรรให้ สปสช. สาขาจังหวัด และ สปสช. สาขาเขตพื้นที่ กทม. เพื่อจัดสรรให้แก่หน่วยบริการ งวดที่ 1 จัดสรร 30% งวดล่วงหน้า (ต.ค. 51) งวดที่ 2 จัดสรร 60% (ม.ค.52) สปสช. เขตได้รับการแจ้งแผนจาก สปสช. จังหวัดภายในเดือน ธ.ค. 51 งวดที่ 3 จัดสรร 10 % (มิ.ย.52) เมื่อ สปสช.เขตได้รับรายงานผลการดำเนินงานรอบ 6 เดือน (ต.ค. 51- มี.ค. 52) จาก สปสช.จังหวัด ภายใน พ.ค. 52 ให้มีการรายงานผลรอบ 9 และ 12 เดือน ภายใน ส.ค. และ ต.ค. 52 ตามลำดับ

14 ห้ามใช้งบประมาณ - การจัดซื้อครุภัณฑ์ ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง
- ดำเนินกิจกรรมที่เป็นการศึกษาดูงานทั้งในและต่างประเทศ - การจัดซื้อครุภัณฑ์ ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง (ยกเว้นงบ P&P Area – based ให้เสนอ อปสข. พิจารณาให้ความเห็นชอบในกรณีครุภัณฑ์ที่จำเป็น ทั้งนี้ต้องไม่เกิน 10% ของงบฯที่ได้รับ) - การจัดการใดๆที่ไม่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค

15 Influenza Vaccine วัตถุประสงค์
- ลด Mortality & Morbidity จากโรคไข้หวัดใหญ่ - ลด Cost การรักษาพยาบาลจากโรคแทรกซ้อน - ลดการแพร่กระจายเชื้อระหว่างบุคลากรทางการแพทย์ กับ ผู้ป่วย - ลดโอกาสการกลายพันธุ์ของเชื้อไข้หวัดนก เป้าหมาย 52 - ทุกกลุ่มอายุ ที่มีโรคเรื้อรังที่สำคัญ 7 โรค ได้แก่ Asthma, COPD, HD, CKD, DM, CVD, CA on chemotherapy จำนวน 1.8 ล้าน

16 กิจกรรมและระยะเวลาดำเนินการ
สำรวจกลุ่มเป้าหมายและจัดทำแผนการรณรงค์ในพื้นที่ ประสานออกใบนัดหมาย มค.-15 มีค.52 ประชุมชี้แจงการดำเนินงาน ก.พ.52 GPO. จัดส่งวัคซีนแก่หน่วยบริการผ่านระบบ VMI 1 – 15 มิ.ย.52 รณรงค์ให้วัคซีน (กำหนดวันรณรงค์ใหญ่ทั่วประเทศ 23มิ.ย.52) 22 มิ.ย.– 31 ก.ค.52 บันทึกข้อมูลผลการบริการวัคซีน ภายใน 30 ก.ย.52 กำกับ ติดตามประเมินผลการดำเนินงาน ก.ค.-ก.ย.52 สรุปผลการดำเนินงาน ภายใน ต.ค.52

17 การกำกับติดตามและประเมินผล
ระบบข้อมูลและรายงานสำหรับการติดตามการดำเนินงาน - 18 แฟ้ม , แฟ้ม - e - claim - Sealant Program - โปรแกรมคัดกรองมะเร็งปากมดลูก - โปรแกรมคัดกรองความเสี่ยง (PPIS) - โปรแกรมวัคซีนไข้หวัดใหญ่ รง. 5 - รายงานสถานการณ์การเงิน PP – Area based ระดับจังหวัด และงบ Non – UC (คัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม) - Composite Indicators และ E - inspection

18 Composite Indicators วัตถุประสงค์
1. เป็นเครื่องมือในการกำกับติดตามประเมินผลและพัฒนาการดำเนินงาน P&P ในระดับพื้นที่ 2. เป็น Tracer index แสดงภาพรวมกิจกรรมการบริการ P&P ภายใต้ชุดสิทธิประโยชน์หลักประกันสุขภาพฯ 3. มีระบบ Feedback เพื่อการวางแผนและพัฒนาคุณภาพบริการอย่างต่อเนื่อง 4. ไม่เป็นภาระที่เพิ่มขึ้นจากระบบสารสนเทศหรือรายงานปกติเดิมที่มี

19 Composite Indicators 1. อัตราความครอบคลุมประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยง 2. ร้อยละของผู้ที่มีความเสี่ยงต่อโรค DM. ที่ผ่านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและมีระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ 3. ร้อยละของผู้ที่มีความเสี่ยงต่อโรค HT. ที่ผ่านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและมีระดับ BP. อยู่ในเกณฑ์ปกติ 4. อัตราความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในเด็ก 4.1 อายุ 1 ปี (Measles/MMR) 4.2 อายุ 3 ปี (JE3) 4.4 อายุ 5 ปี (DPT5) 5. อัตราความครอบคลุมสตรีอายุ 35,40,45,50,55,60 ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก

20 Composite Indicators 6. ร้อยละสตรีที่มีผลการตรวจมะเร็งปากมดลูกผิดปกติ ได้รับการตรวจรักษาตามแนวทางการส่งต่อ 7. ร้อยละความครอบคลุมการให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ตามกลุ่มเป้าหมาย 8. ร้อยละ นร. ป. 1 ที่มีปัญหาร่องฟันลึกได้รับการเคลือบหลุมร่องฟัน 9. ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการดูแลก่อนคลอดตามเกณฑ์ 9.1 ฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์ < 12 สัปดาห์ 9.2 ได้รับกรตรวจเชื้อ HIV 9.3 ได้รับการตรวจ Thalassemia 10. อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์

21 Composite Indicators 11. ตัวชี้วัดที่เป็นปัญหาด้านส่งเสริมป้องกันในเขตพื้นที่ สปสช. 12. ตัวชี้วัดการดำเนินงานของคณะกรรมการระดับจังหวัด 12.1 ร้อยละของจังหวัดที่มีการจัดทำแผนบูรณาการด้านส่งเสริมป้องกันทั้งในระดับจังหวัดและอำเภอ 12.2 ร้อยละของงบพัฒนาศักยภาพงานส่งเสริมป้องกันจากงบ PPA ที่ได้รับการจัดสรรทั้งหมด 12.3 ตัวชี้วัดที่เป็นปัญหาด้านส่งเสริมป้องกันในจังหวัด

22 ความคาดหวังต่อการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันโรค ในระดับพื้นที่
พื้นที่มีกระบวนการจัดทำยุทธศาสตร์และแผนระดับพื้นที่เพื่อแก้ปัญหา/ภาวะโรคในระดับพื้นที่ที่เป็นรูปธรรม การบูรณาการดำเนินงานร่วมกันของทุกภาคีระดับพื้นที่ ทั้งการจัดการ แผน งบประมาณ กำลังคน และข้อมูล ประชาชนเกิดความตระหนักและเห็นคุณค่าของการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค และการดูแลสุขภาพตนเอง การบูรณาการงานบริการสาธารณสุขและงบประมาณ (P&P, รักษา ฟื้นฟูฯ) ในระดับพื้นที่โดยใช้แนวคิด Evidence based การจัดการงบประมาณที่มีประสิทธิภาพ คุ้มค่า มีระบบการกำกับติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง

23 ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt นพ. จักรกริช โง้วศิริ ผจก. กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google