สมเกียรติ รุ่งเรืองวิริยะ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการจัดการศึกษาตลอดชีวิต (โครงการเรียนรู้สู่อาเซียน)
Advertisements

1 การประเมินคุณภาพ ภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานจัดการเรียนการสอน โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน หน่วยงาน
7.1-1 ร้อยละผู้ที่สอบผ่านใบประกอบวิชาชีพ
ประจำเดือน เมษายน 2555 กลุ่มอาคาร BU LANDMARK ตั้งแต่เวลา น. – น.
ประจำเดือน สิงหาคม 2554 กลุ่มอาคาร BU LANDMARK ตั้งแต่เวลา น. – น.
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2552 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
สหกิจศึกษาทางรัฐศาสตร์
คนึงนิตย์ หีบแก้ว ธันยกานต์ สินปรุ พุทธชาติ เรืองศิริ
นางพัชราภรณ์ หงษ์สิบสอง และผู้ช่วยศาสตราจารย์นันทา เติมสมบัติถาวร
ศรีสุทธา ปัตทวีคงคา 02 ฤดีพร พรหมพล 34 สมร การะเกษ 35
ผู้วิจัย นางสาวศิริรัตน์ สานุ ผู้นำเสนอ นายภากร แก้วแสน
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลาน ครินทร์ 23 มิถุนายน 2552.
K hon K aen U niversity O ffice of Q uality M anagement ผลลัพธ์ IQA_KKU 2552.
หมวด 7 result 1. ECPE มิติที่ 7.1 ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน 2.
4 เมษายน 2560 หมวด 7 result.
วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
Eng ศึกษาความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการขันติ โสรัจจะ รุ่นที่ 1 ปีการศึกษา วัตถุประสงค์การวิจัย ระเบียบวิธีวิจัย ผลการวิจัย ผู้วิจัยต้องการศึกษา.
ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อคุณภาพการสอนของครู
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ วันที่ มิถุนายน คะแนน ระดับดีมาก.
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
การศึกษาภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
การประชาสัมพันธ์เบื้องต้น (Introduction to Public Relations)

วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ศึกษาวิจัยการดำเนินงานโครงการลดจำนวนการออกกลางคันของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2556 นายไพศาล บุญประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ความคิดเห็นที่มีต่อการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของ บุคลากรวิทยาลัยเทคโนโลยี ฐานเทคโนโลยี บรรยวัสถ์ สินทรัพย์
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
LOGO ศึกษาการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศของบุคลากร ในวิทยาลัยเทคนิคหนองคาย A study to used information technology of personnel at Nongkhai.
ความพร้อมในการเรียนด้วยอีเลิร์นนิ่ง ของนักศึกษาพยาบาลระดับปริญญาเอก The e-Learning Readiness of PhD. Nursing Students ดร. เจือจันทน์ วัฒกีเจริญ มหาวิทยาลัย.
ผู้วิจัย นายไพบูลย์ ว่องวารี
ชื่อเรื่อง แรงจูงใจของนักศึกษาในการเลือกเรียนหลักสูตรปริญญาตรีสาขาบริหารธุรกิจบัณฑิต ผู้วิจัย นางสาวณัฐกานต์ ภูแฝก.
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การวิเคราะห์วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในช่วงปี พ.ศ Analysis of Master’s Thesis in Social Studies.
วิจัยประเภทการเรียนการสอน
Eastern Technological College (E.TECH)
ชื่อผลงานวิจัย ความพึงพอใจของครูผู้สอน ต่อการบริหารสถานศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางกุสุมา หาญกล้า.
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
พฤติกรรมผู้เรียน การเป็นพลเมืองไทยพลโลก วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ นางสอางค์ แจ่มถาวร วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
นางสาวนัทธ์หทัย ปัญเจริญ
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
การศึกษาองค์ประกอบการตัดสินใจของผู้ปกครองในการส่งบุตรหลานเข้าศึกษาต่อใน วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ นางสาวธัญศญา ธรรมิสกุล วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ.
อาจารย์แผนกช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
วัตถุประสงค์ : ๑. เพื่อประชาสัมพันธ์ข่าวสาร ความเคลื่อนไหวภายในคณะศึกษาศาสตร์ แก่ คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนักศึกษา ๒. เพื่อเป็นสื่อกลางในการเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างคณาจารย์
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
นางสาวกาญจนา เลิศรุ่งรัศมี
คณะผู้จัดทำ นาย ชาญชัย คุณยศยิ่ง นาย จีรศักดิ์ ฝั่งมณี
การนำเสนอผลงานวิจัย ชื่อเรื่อง : สมรรถนะที่เป็นจริงของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. แผนก การบัญชี ตามความคิดเห็นของหัวหน้าแผนกบัญชี ในเขตพื้นที่
“ การแลกเปลี่ยน บุคลากร ” ทางเลือกของการจัดการความรู้ใน สถานศึกษาเอกชนประเภทอาชีวศึกษา กรณีศึกษา : วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูกับ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรีบริหารธุรกิจ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม (สยามเทค) กรุงเทพมหานคร
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ของนักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
Eastern College of Technology (E.TECH)
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาอาชีวศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาการ บัญชี วิชาการบัญชีเบื้องต้น ด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบสร้าง สถานการณ์จำลอง.
นายภูวดล เพ็ญนาดี วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
นางสาววัชรา เชื้อรามัญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง ความคิดเห็นที่มีต่อการเรียนการ สอน สาขาวิชาการจัดการทั่วไป ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางเยาวลักษณ์ อา ลักษณสุวรรณ.
ความพึงพอใจต่อการมาใช้บริการห้องสมุด
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สมเกียรติ รุ่งเรืองวิริยะ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต พฤติกรรมการเปิดรับข่าวสารการประชาสัมพันธ์ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ที่มีต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยรังสิต ประจำปีการศึกษา 2551 โดย ธิราภรณ์ กลิ่นสุคนธ์ สมเกียรติ รุ่งเรืองวิริยะ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต

วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเปิดรับข่าวสารการประชาสัมพันธ์ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยรังสิต ประจำปีการศึกษา 2551 2. เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยรังสิตของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2551

ขอบเขตการวิจัย 1. ศึกษาเฉพาะนักศึกษาที่เข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยรังสิต ประจำภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2551 และเข้าร่วมงานปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ ในวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2551 2. ศึกษาเฉพาะการประชาสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัยรังสิตในปีการศึกษา 2551 เท่านั้น

ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจหรือการเข้าศึกษา ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจหรือการเข้าศึกษา หมายถึง การตัดสินใจของนักศึกษาในการเลือกเข้าศึกษาต่อใน มหาวิทยาลัยรังสิต โดยพิจารณาองค์ประกอบ ทั้ง 6 องค์ประกอบ ดังนี้ คือ ด้านภาพลักษณ์และชื่อเสียงของมหาวิทยาลัย ด้านวิชาการ ด้านอาจารย์และบุคลากร ด้านอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม ด้านการรับรู้ประชาสัมพันธ์ ด้านบริการและสวัสดิการ

ประชากรในการวิจัย ประชากรที่ใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ที่ลงทะเบียนเรียนในภาคการศึกษาที่ 1/2551 และเข้าร่วมงานปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ ณ อาคารนันทนาการ เมื่อวันอาทิตย์ที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2551 จำนวนทั้งสิ้น 3,600 คน

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 พฤติกรรมการเปิดรับข่าวสารการประชาสัมพันธ์ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยรังสิต ประจำปีการศึกษา 2551 ตอนที่ 3 ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยรังสิตของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2551

ผลการวิจัย ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม เพศ ชาย ร้อยละ 37.20 หญิง ร้อยละ 62.80 สถานศึกษา ประเภทของการสอบคัดเลือก กรุงเทพมหานคร/ปริมณฑล ร้อยละ 37.00 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยละ 17.19 ภาคกลาง ร้อยละ 14.66 การคัดเลือก / สอบโดยตรงของมหาวิทยาลัยรังสิต ร้อยละ 63.36 การคัดเลือก / โดยการใช้ผลแอดมิดชั่น ร้อยละ 27.06 การคัดเลือกโดยโควตาทุนเรียนดี ร้อยละ 9.08

มหาวิทยาลัยรังสิต ประจำปีการศึกษา 2551 ผลการวิจัย ตอนที่ 2 พฤติกรรมการเปิดรับข่าวสารการประชาสัมพันธ์ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยรังสิต ประจำปีการศึกษา 2551

ผลการวิจัย ตอนที่ 3 ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยรังสิตของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2551

ด้านวิชาการ

ด้านผู้สอน

ด้านการประชาสัมพันธ์

ด้านบริการและสวัสดิการ