อาคารเขียว (Green Building).

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550
ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
สำนักควบคุมและตรวจสอบอาคาร
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
กลุ่มรักษ์ Com Sci คำขวัญ เทคโนโลยีก้าวหน้า 5ส ก้าวไกล.
หลักสูตรโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2544
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
ระบบการจัดการสอบ เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์
นายสมิทธิ ดารากร ณ อยุธยา
ยุทธศาสตร์ชาติ เพื่อการพัฒนาที่อยู่อาศัย
กำหนดการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
โครงการพัฒนาบุคลากรและทีมบริหารด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล ควบคุม.
การบรรยายหัวข้อ เทคนิคการควบคุมงานก่อสร้าง
วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่จัดเก็บภาษี เพื่อส่งเสริมเสถียรภาพทาง การคลัง พัฒนาสังคม และรักษาสิ่งแวดล้อม พันธกิจ 1. เพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษี เพื่อรักษาเสถียรภาพทาง.
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
ระบบการจัดการสอบ เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์
รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
สมาคมศิษย์เก่าพยาบาลรามาธิบดี
ประชุมคณะกรรมการจัดการพลังงาน มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา ครั้งที่ 1/2555
การจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อม
Green Design Building น.ส.สารินี บัวเจริญ
หัวข้อโครงงาน สื่อการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์ : มาตรฐานอาคารเขียว
BA 925 การบริหารกลยุทธ์ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551
ยินดีต้อนรับ คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร์
Location Problem.
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
องค์กรภาครัฐในส่วนกลางในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
อนามัยสิ่งแวดล้อม วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
ตัวชี้วัดตามแผนงานงบประมาณ
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
หมวด 7 result 1. ECPE มิติที่ 7.1 ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน 2.
4 เมษายน 2560 หมวด 7 result.
การพัฒนาความเข้มแข็ง แผนงานควบคุมโรค
ปัตตานี นายวิจิตร จำปาสกุล โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๔
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
ตัวชี้วัดที่ 3.5 ร้อยละของคุณภาพการบริการ ของสำนักงานเขต
สรุปบทเรียนบนเส้นทาง การพัฒนาคุณภาพ
แนวทางการติดตามประเมินผล แผนอนุรักษ์พลังงานระยะที่ 3 ( )
1 ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร.
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก ประกอบด้วย 4 วิทยาเขต
ประกาศอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน เรื่อง กำหนดคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข วัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องจักรที่มีผลต่อการประหยัดพลังงาน.
หลักเกณฑ์การจัดตั้งสถาบัน การอาชีวศึกษา
โรงพยาบาลหนองวัวซอ จ.อุดรธานี วันที่ 29 กรกฎาคม 2554
กลุ่ม เก็บตะวัน กลุ่มที่ 5 กาญจนบุรี สมุทรสงคราม
พ.ร.บ.สภาเกษตรกรแห่งชาติ พ.ศ. 2553
สำนักกำกับและอนุรักษ์พลังงาน (สกอ.)
"เป็นหน่วยงานหลักในการประสาน และผลักดันยุทธศาสตร์กระทรวง
พวกเรามีความเห็นว่า เป็นอย่างไร ?.
วิสัยทัศน์ เป็นเลิศด้าน วิชาการ รับใช้ สังคม 50 ของเอเชีย เป้าหมาย ร่วมพัฒนาพื้นที่และประเทศอย่างยั่งยืน จัดการศึกษา มีคุณภาพ ยุทธศาสตร์ พัฒนางานวิจัย.
สรุป การสัมมนา “การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี 2555”
โครงการวิจัย 1 ปัญหาการจัดการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติในชุมชน จากการใช้ผลการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม(EIA) ประกอบการอนุญาตฯนิคมอุตสาหกรรมลำพูน โดยกลุ่มที่
สำนักวิเคราะห์งบประมาณส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น
การเลือกตั้งผู้แทนพนักงานกระทรวงสาธารณสุข ตามหนังสือ สธ ว 152 ลว
รายงานความก้าวหน้าการตรวจติดตามประเมิน
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ประกาศอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานเรื่อง กำหนดคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข วัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องจักรที่มีผลต่อการประหยัดพลังงาน.
1 โดย... นายชัยฤทธิ์ ดำรงเกียรติ รองอธิบดีกรมการข้าว.
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อาคารเขียว (Green Building)

ความหมาย เป็นมาตรฐานใหม่ในการออกแบบอาคารเพื่อลด ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่ทั่วโลกให้การยอมรับ และนำไปใช้เป็นเกณฑ์สากลในการออกแบบ อาคาร โดยมีประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นผู้จัดทำ หลักเกณฑ์การประเมินอาคารเขียว หรือ LEED (Leadership in Energy and Environment Design)

ตัวอย่างมาตรฐาน

มาตรฐาน LEED PROTOTYPE LEED : Leadership in Energy and Environment Design Sustainable Site – การพัฒนาสถานที่ตั้งโครงการอย่างยั่งยืน Water Efficiency – ระบบสุขาภิบาลที่มีประสิทธิภาพ Energy & Atmosphere – พลังงานและชั้นบรรยากาศ Materials & Resources – การเลือกใช้วัสดุและทรัพยากร Indoor Environment Quality – สภาวะแวดล้อมภายในอาคาร Innovation & Design Process – การออกแบบนวัตกรรม

เกณฑ์การประเมิน LEED ระดับเงิน 33–38 คะแนน ระดับทอง 39–51 คะแนน ผ่านเกณฑ์ 26–32 คะแนน ระดับเงิน 33–38 คะแนน ระดับทอง 39–51 คะแนน ระดับแพลตินั่ม 52–69 คะแนน

การประยุกต์ใช้มาตรฐาน Green Building ในประเทศไทย

คณะกรรมการแบบประเมินอาคารประหยัดพลังงานและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 1. นายมานะ นิติกุล รองอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ประธานฯ 2. นายยศพงษ์ คุปตะบุตร ผู้แทนจากกำกับอนุรักษ์พลังงาน พพ. กรรมการ 3. นายกิตติพงษ์ จิระเดชากร ผู้แทนจากกรุงเทพมหานคร กรรมการ 4. นายศิริชัย กิจจารึก ผู้แทนจากกรมโยธาธิการและผังเมือง กรรมการ 5. นายนพปฎล เมฆเมฆา ผู้แทนจากสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค กรรมการ 6. นายบัณฑิต วุฒิรักษ์ชัยนันท์ ผู้แทนจากสำนักงานมาตรฐานอุตสาหกรรม กรรมการ 7. นายมานิต สถาปนิกกุล ผู้แทนจากสำนักงานเลขานุการโครงการฉลากเขียว กรรมการ 8. นายปฏิกร ณ สงขลา ผู้แทนจากสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ กรรมการ 9. นายมานิตย์ กู้ธนพัฒน์ ผู้แทนจากวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ กรรมการ 10. ผศ.ดร.นวณัฐ โอศิริ ผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านภูมิสถาปัตยกรรมและการวางผัง กรรมการ

คณะกรรมการแบบประเมินอาคารประหยัดพลังงานและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (ต่อ) 11 ผศ.ดร.กูสกานา กูบาฮา ผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านระบบเปลือกอาคาร กรรมการ 12. อาจารย์ชนิกานต์ ยิ้มประยูร ผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านระบบเปลือกอาคาร กรรมการ 13. อาจารย์ไชยะ แช่มช้อย ผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านระบบไฟฟ้าแสงสว่าง กรรมการ 14. รศ.ดร.วิทยา ยงเจริญ ผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านระบบปรับอากาศและเครื่องกล กรรมการ 15. ผศ.วรวรรณ โรจน์ไพบูลย์ ผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านระบบการก่อสร้างและวัสดุก่อสร้าง กรรมการ 16. ผศ.ดร.พันธุดา พุฒิไพโรจน์ ผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านสถาปัตยกรรม กรรมการ 17. ผศ.เฉลิมวัฒน์ ตันตสวัสดิ์ ผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านสถาปัตยกรรม กรรมการ 18.นางศิรินทร วงเสาวศุภ ผู้แทนจากสำนักส่งเสริมอนุรักษ์พลังงาน พพ. กรรมการและลขานุการ 19.อ.ดร.วรภัทร์ อิงคโรจน์ฤทธิ์ ผู้แทนที่ปรึกษาโครงการฯ ผู้ช่วยเลขานุการ

หน้าที่ของคณะกรรมการแบบประเมินอาคารประหยัดพลังงานและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม พิจารณาประสิทธิภาพของอาคาร ตามเกณฑ์ของแบบประเมิน อาคารทางด้านพลังงาน ให้คำแนะนำทางด้านเทคนิคและความถูกต้องทางวิทยาศาสตร์ รับรองผลการพิจารณาประสิทธิภาพของอาคารตามเกณฑ์ของ แบบประเมินอาคารทางด้านพลังงาน และความรับผิดชอบต่อ สิ่งแวดล้อม 4. ให้คำแนะนำ และกำหนดแนวทางการพัฒนาเกณฑ์ที่ใช้ในการ พิจารณาอาคารประหยัดพลังงานและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมใน อนาคต 5. ส่งเสริมการนำไปใช้ของแบบประเมินอาคารประหยัดพลังงาน และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

แบบประเมินอาคารประหยัดพลังงานและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สถานที่ตั้งอาคาร ผังบริเวณและงานภูมิสถาปัตยกรรม เปลือกอาคาร ระบบปรับอากาศ ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง พลังงานทดแทนและการจัดการพลังงาน ระบบสุขาภิบาล วัสดุและการก่อสร้าง เทคนิคการออกแบบและกลยุทธ์ประหยัดพลังงาน / รักษาสิ่งแวดล้อม พลังงาน

เกณฑ์การประเมิน อาคารพักอาศัย อาคารพาณิชย์ ระดับของการประหยัดพลังงาน ค่าคะแนนประหยัดพลังงาน ดี 40-54 ดีมาก 55-69 ดีเด่น 70 หรือมากกว่า อาคารพาณิชย์ ระดับของการประหยัดพลังงาน ค่าคะแนนประหยัดพลังงาน ดี 45-59 ดีมาก 60-74 ดีเด่น 75 หรือมากกว่า

หลักเกณฑ์ การประเมิน อาคารเขียว โดย วสท.

หลักเกณฑ์การประเมิน 8 ประเด็น การบริหารจัดการอาคาร (Building Management) ผังบริเวณและภูมิทัศน์ (Site and Landscape) การอนุรักษ์น้ำ (Water Conservation) การใช้พลังงานและบรรยากาศ (Energy and Atmosphere) วัสดุและทรัพยากรในการก่อสร้าง (Materials and Resource ) คุณภาพของสภาวะแวดล้อมภายในอาคาร (Indoor Environmental Quality ) การป้องกันผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม(Environmental Protection ) นวัตกรรม (Green Innovation)

ขอบคุณครับ