งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการพัฒนาบุคลากรและทีมบริหารด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล ควบคุม.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการพัฒนาบุคลากรและทีมบริหารด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล ควบคุม."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการพัฒนาบุคลากรและทีมบริหารด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
ควบคุม

2 คณะกรรมการโรงพยาบาล “ควบคุม”
ที่ปรึกษา : อ.ฉัตรชัย มีหนุน

3 ประธานคณะกรรมการอนุรักษ์พลังงาน คณะกรรมการอนุรักษ์พลังงาน
อาจารย์ที่ปรึกษา ประธานคณะกรรมการอนุรักษ์พลังงาน เลขาฯ ผู้ช่วยเลขาฯ คุณชลิต ช่วยบำรุง อ. ฉัตรชัย มีหนุน คณะกรรมการอนุรักษ์พลังงาน คุณสมศรี จรสุวรรณ คูณศราวุธ ขานทอง คูณศราวุธ ขานทอง คุณอุทิศ พรหมมินทร์ คุณพิษิต ชัชเวช 4.คุณอนุชา ศรจันทร์ คุณพีรยุทธ์ ฉิมเรือง 3.คุณวรพจน์ โกยพิพัฒน์กุล คุณววิศุทธิ์ คนหมั่น คุณยศกรณ์ เนตรแสงทิพย์ คุณศุภวัฒน์ จริญกุลวณิช ฝ่ายวิชาการ ฝ่ายวิศวกรรม ฝ่ายประชาสัมพันธ์ ฝ่ายสิ่งแวดล้อม ฝ่ายจัดซื้อจัดจ้าง คุณประถมชัย สมบัติ คุณสมศรี จรสุวรรณ คุณสายัน อินทวงษ์ ตัวแทนทีมจากหน่วยงานต่างๆ กรรมการตรวจประเมิน ประธานตรวจการประเมิน กรรมการตรวจประเมิน คุณชานนท์ เยื่อใย คุณวรพจน์ โกยพิพัฒน์กุล คุณไพรัตน์ ชูประดิษฐ์

4 นโยบายอนุรักษ์พลังงานของ รพ.ควบคุม
1. กำหนดแผนและเป้าหมายการลดใช้พลังานปี 2555 ให้มีผลประหยัดเมื่อเทียบกับการใช้พลังงานปี 2554 อย่างน้อย 10% สื่อสารให้บุคลากรทุกคนเข้าใจ ปฏิบัติได้ถูกต้องและมีส่วมร่วมอย่างทั่วถึง โดยให้การอนุรักษ์พลังงานเป็นส่วนหนึ่ง ของโรงพยาบาล 2. ดำเนินการและพัฒนาระบบการจัดการพลังงานอย่างเหมาะสมและเป็นไปตามกฎหมาย 3. ดำเนินการปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรพลังงานอย่างต่อเนื่องและเหมาะสมกับงานบริการ 4. กำหนดแนวทางปฏิบัติในการจัดสรรทรัพยากรอย่างพอเพียง โดยไม่กระทบต่อคุณภาพการบริการ 5.

5 ผังพื้นที่รับผิดชอบศัลยกรรมกระดูก

6 ผังพื้นที่รับผิดชอบหน่วยงานซ่อมบำรุง

7 ผังพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มการเงิน,การพยาบาล

8 ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM

9 ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM
3.การกระตุ้นและสร้างแรงจูงใจ จุดที่พัฒนาได้ - ควรมีการจัดทำแผนกิจกรรมเพื่อเป็นการกระตุ้นให้เกิดแรงจูงใจ เช่น โครงการผลประหยัดแลกคูปอง - ควรมีการแข่งขันประหยัดพลังงานระหว่างหน่วยงานต่างๆและมีรางวัลสำหรับหน่วยงานที่มีผลงานดี

10 ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM-จุดแข็ง
1. นโยบายการจัดการพลังงาน ทบทวนนโยบายให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันอย่างเหมาะสมและเป็นไปตามกฎหมาย การจัดการองค์กร หมุนเวียนบุคลากรร่วมเป็นกรรมการ/คณะทำงานในตำแหน่ง ต่างๆ 2. การลงทุน มีการสนับสนุนจัดสรรงบประมาณจากภาครัฐและดำเนินการตามแผนอนุรักษ์พลังงาน 3. ระบบข้อมูลข่าวสาร มีการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบและครบถ้วน 4.

11 ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM-จุดแข็ง
5. การประชาสัมพันธ์ มีการเผยแพร่โครงการอนุรักษ์พลังงาน .

12 แผนการดำเนินงาน

13 มาตรการและการคำนวณผลประหยัด
ผลสำรวจ : ความร้อนจากหลอดไฟฟ้าส่งผลกระทบแก่พนักงานทำให้เกิดความร้อนสะสมที่ตัวพนักงาน มาตรการด้านเทคนิค ควรมีการปรับโคมไฟฟ้าให้สูงขึ้นเพื่อให้ความร้อนที่กระทบแก่ตัวพนักงานน้อยลงโดยที่ความสว่างยังอยู่ในมาตรฐาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ การทำงานของเครื่องปรับอากาศลดลงจากเดิมสามารถลดการใช้พลังงานไฟฟ้าได้มากขึ้น หมายเหตุ : ต้องมีการเก็บข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อเห็นตัวเลขการประหยัดพลังงานที่ชัดเจน

14 มาตรการและการคำนวณผลประหยัด
ผลการสำรวจ : มีการติดตั้ง VSD ระบบปั๊มน้ำ CHP , CDP เพื่อลดพลังงานการใช้ไฟฟ้า แต่ไม่มีติดตั้งที่ ระบบ Cooling Tower ถ้าเปิดระบบ Cooling Tower พิกัดกำลังไฟฟ้า = 7,500 watt. เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 100 % เวลาทำงาน = 8 ชั่วโมง/วัน วันทำงาน = 365 วัน/ปี ก่อนกำหนดมาตรการ ใช้พลังงาน 21,900หน่วย/ปี อัตราค่าไฟฟ้า = 21,900 X 3.4 = 74,460 บาท/ปี

15 มาตรการและการคำนวณผลประหยัด
ผลการสำรวจ : มีการติดตั้ง VSD ระบบปั๊มน้ำ CHP , CDP เพื่อลดพลังงานการใช้ไฟฟ้า แต่ไม่มีติดตั้งที่ระบบ Cooling Tower ถ้าเปิดระบบ Cooling Tower ผลประหยัด : ติดตั้ง VSD เพิ่มขนาด 7.5 KW. ใช้งานที่ 70 % เป็นเวลา 8 ชั่วโมง พลังงานไฟฟ้า = ( 7,500 x 8 x 0.7 x 365 ) / 1000 = 15,330 หน่วย/ปี อัตราค่าไฟฟ้า = 3.4 บาท/หน่วย ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ = 21,900 – 15,330 = 6,570x 3.4 = 22, 338 บาท/ปี

16 มาตรการและการคำนวณผลประหยัด
ผลการสำรวจ : มีการติดตั้ง VSD ระบบปั๊มน้ำ CHP , CDP เพื่อลดพลังงานการใช้ไฟฟ้า แต่ไม่มีติดตั้งที่ระบบ Cooling Tower ถ้าเปิดระบบ Cooling Tower ผลประหยัด : ติดตั้ง VSD เพิ่มขนาด 7.5 KW. ใช้งานที่ 40 % เป็นเวลา 8 ชั่วโมง พลังงานไฟฟ้า = ( 7,500 x 8 x 0.4 x 365 ) / 1000 = 8,760 หน่วย/ปี อัตราค่าไฟฟ้า = 3.4 บาท/หน่วย ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ = 21,900 –8,760 =13,140 x 3.4 = 44,676บาท/ปี

17 มาตรการและการคำนวณผลประหยัด
ระยะเวลาจุดคุ้ม: เมื่อมีการติดตั้ง VSD ระบบCooling Tower จำนวน 2 ตัว เพื่อลดพลังงานการใช้ไฟฟ้า งบประมาณการลงทุนโดยประมาณอยู่ที่ 200,000 บาท จุดคุ้มทุน : ติดตั้ง VSD เพิ่มขนาด 7.5 KW. จำนวน 2 ตัว ใช้งานที่ 40 % เป็นเวลา 8 ชั่วโมง สามารถประหยัดได้ 89,352 บาท/ปี ราคา VSD จำนวน 2 ตัวพร้อมอุปกรณ์ ราคา 200,000 บาท ผลประหยัดเมื่อมีการติดตั้ง VSD ที่ Cooling Tower จำนวน 2 ตัว สามารถประหยัดได้ 89,352 บาท/ปี จุดคุ้มทุนในการลงทุนอยู่ที่ 2.5 ปี

18 มาตรการข้อเสนอแนะอื่นๆ
ควรมีการติดตั้งโช๊คประตูในพื้นที่มีอุณภูมิห้องที่ต่างกันเพื่อป้องกันการสิ้นเปลืองของระบบปรับอากาศ 1 การติดตั้งเครื่องปรับอากาศควรห่างจากประตูเข้าออก 2

19 ข้อเสนอแนะด้านสิ่งแวดล้อม
ไม่ปิดฝาท่อระบายน้ำทำให้มีแมลง

20 ข้อเสนอแนะด้านสิ่งแวดล้อม
ควรมีการจัดเก็บขยะที่มิดชิด

21 ข้อเสนอแนะด้านสิ่งแวดล้อม
ควรมีการติดตั้งให้เหมาะสมและมีการตรวจสอบอย่างสม่ำเสมอ .

22 สิ่งที่ใด้จากการอบรม
1. มีจิตสำนึกอนุรักษ์พลังงาน 2. การนำเทคโลโนยีเข้ามาประยุกต์ใช้ 3. เรียนรู้กระบวนการทำงานและ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ 4. ใด้พัฒนาการทำงานเป็นทีม 5. ใด้เห็นถึงสภาพแวดล้อมบริเวณรอบๆอาคารที่ดี และสวยงาม

23 สมาชิกกลุ่มที่ 6 “ควบคุม”
ขอบคุณ


ดาวน์โหลด ppt โครงการพัฒนาบุคลากรและทีมบริหารด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล ควบคุม.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google