ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์ นโยบายและทิศทางในการจัดทำยุทธศาสตร์ การพัฒนาด้านการแพทย์และสาธารณสุขของ สำนักการแพทย์ โดย นพ.สราวุฒิ สนธิแก้ว ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์
ภารกิจ หน้าที่ ความรับผิดชอบ ของสำนักการแพทย์ สำนักการแพทย์ มีอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับการดำเนินการให้บริการตรวจรักษาพยาบาล การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ฝึกอบรม และพัฒนาวิชาการ ทางการแพทย์และการพยาบาล
วิสัยทัศน์ “เป็นองค์กรด้านการแพทย์และสาธารณสุข ที่มีเครือข่ายบริการชั้นนำของประเทศ” “Medical service department is one of the leading health network in Thailand”
พันธกิจ “สำนักการแพทย์ เป็นผู้นำในการจัดเครือข่ายบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขที่มีมาตรฐานระดับสากล โดยผู้เชี่ยวชาญทั้งด้านสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค บำบัดรักษา ฟื้นฟูสุขภาพ บริการการแพทย์ฉุกเฉิน และพัฒนาด้านเวชศาสตร์เขตเมือง มีการบริหารแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ ยึดหลักการทำงานเป็นทีม ส่งเสริมการวิจัยและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง สนับสนุนให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาบริการสุขภาพ”
เป้าประสงค์การพัฒนา EEBMU E E U B M Excellence of Medical Services to achieve regional health gateway Expertise of Urban medicine EEBMU E E U เป้าประสงค์การพัฒนา Unity of BMA network for better quality of life Branding to become medical services of choice B M Modernization of medical management and Learning Organization
เป้าประสงค์การพัฒนา U E เป็นศูนย์กลางบริการด้านการแพทย์และสาธารณสุขที่มีมาตรฐานสากล ก้าวสู่ความเป็นเลิศทางการแพทย์ เพื่อให้ประชาชนได้รับการรักษาพยาบาลที่มีคุณภาพ E เป็นศูนย์กลางความเชี่ยวชาญด้านเวชศาสตร์เขตเมือง เน้นการศึกษาเฉพาะทางควบคู่กับการพัฒนางานวิจัย B เปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์การจัดบริการด้านการแพทย์และสาธารณสุข ให้เป็นที่ยอมรับของประชาชน M มีระบบบริหารจัดการสมัยใหม่ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล มุ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เทคโนโลยีสารสนเทศ และสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ ตลอดจนโครงสร้างพื้นฐานที่เอื้อต่อการให้บริการที่ดีที่สุดแก่ประชาชน U มีการบูรณาการเครือข่ายระบบบริการทางการแพทย์ และระบบส่งต่อที่เป็นเอกภาพ
มิติการพัฒนา บริหารจัดการ เมือง ชุมชน สร้างเสริมสุขภาพ ประเทศ/นานาชาติ บริการรักษา พยาบาลและฟื้นฟูสุขภาพ สร้างเสริมสุขภาพ พัฒนางานวิจัย บริหารจัดการ ประเทศ/นานาชาติ (National/International) Excellence of medical services to achieve regional health gateway Expertise of urban medicine Branding to become medical services of choice Modernization of medical management and learning organization เมือง (Urban) Unity of BMA network For better quality of life ชุมชน (Community)
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการดำเนินการของโรงพยาบาลใน สังกัดกรุงเทพมหานคร 1. พรบ. บริหารราชการกรุงเทพมหานคร ฉบับใหม่ 2. การเปิดโรงพยาบาลของกรุงเทพมหานครเพิ่มขึ้น 3 แห่ง 3. การขาดแคลนบุคลากร 4. การปรับระบบประกันสุขภาพ 3 ระบบหลัก ให้อยู่ในมาตรฐานเดียวกัน 5. การเรียกร้องสิทธิของประชาชนเพิ่มขึ้น 6. ผู้สูงอายุเป็นกลุ่มผู้ป่วยที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการดำเนินการของโรงพยาบาลใน สังกัดกรุงเทพมหานคร 7. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 8. ภัยธรรมชาติ 9. โรคอุบัติใหม่ 10. การพัฒนาอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีสารสนเทศ 11. ปัญหาทางด้านจิตใจของประชาชน
แนวนโยบายของสำนักการแพทย์และผลกระทบต่อการดำเนินการ การบริหารงานบุคคลแนวใหม่ การสรรหา การรักษา การพัฒนา การบริหารผลงาน คุณภาพชีวิตการทำงานที่สมดุล การบริหารคนเก่งและการสืบทอดตำแหน่ง
แนวนโยบายของสำนักการแพทย์และผลกระทบต่อการดำเนินการ การสร้างวัฒนธรรมของการเป็นส่วนหนึ่งของสังคม สิ่งแวดล้อม การช่วยเหลือสังคม การเปิดให้สังคมมีส่วนร่วม การสร้างเครือข่าย การเอื้อเฟื้อ ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน การเตรียมพร้อมรับมืออุบัติภัยและโรคอุบัติใหม่ เตรียมพร้อมรับมือสังคมผู้สูงอายุ
แนวนโยบายของสำนักการแพทย์และผลกระทบต่อการดำเนินการ การพัฒนาระบบบริการรักษาระดับปฐมภูมิ ในเขตเมือง ให้เป็น รูปธรรม เสริมพลังให้ผู้ป่วยและชุมชนดูแลตนเอง การเพิ่มทักษะภาษาอังกฤษในบุคลากรทางการแพทย์ การพัฒนาจิตใจของบุคลากรให้ เข้มแข็ง มีคุณธรรม พร้อมรับมือกับปัญหาใหม่ที่เกิดขึ้น การเพิ่มบทบาทด้านการศึกษา
Thank You !