พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ. ... ที่มา และ วัตถุประสงค์ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภค เหตุผลที่คุ้มครองผู้บริโภค สภาพปัญหาในการบังคับใช้กฎหมายเพื่อเยียวยาความเสียหายให้แก่ผู้บริโภค (Law enforcement)
สาระสำคัญ ลักษณะของคดีผู้บริโภค หลักวิธีพิจารณาคดีพื้นฐาน การฟ้องคดีผู้บริโภค ภาระการพิสูจน์ในคดีผู้บริโภค การสืบพยาน การพิพากษาคดี การอุทธรณ์ฎีกา การคุ้มครองชั่วคราวก่อนพิพากษา การบังคับคดี
ลักษณะของคดีผู้บริโภค ต้องเป็นคดีแพ่งดังต่อไปนี้ คดีพิพาทระหว่างผู้บริโภค (รวมถึงผู้มีอำนาจฟ้องคดีแทนตาม ม.19)กับผู้ประกอบธุรกิจอันเนื่องมาจากการบริโภคสินค้าหรือบริการ คดีพิพาทตามกม. ว่าด้วยความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าไม่ปลอดภัย(Product Liability Law) คดีที่เกี่ยวพันกับคดีสองประเภทข้างต้น คดีที่มีกฎหมายบัญญัติให้ใช้วิธีพิจารณาตามพ.ร.บ. นี้ *ในกรณีที่มีปัญหาว่าเป็นคดีผู้บริโภคหรือไม่ ต้องส่งให้ประธานศาลอุทธรณ์วินิจฉัย (ม.8)
หลักวิธีพิจารณาคดีพื้นฐาน ไม่เป็นทางการ (Informality)(ม.9,15,25) ความสะดวก (Convenience)(ม.20,26,33) ประหยัด (No cost)(ม.18) เป็นธรรม (Fairness)(ม.10,11,13,14,41,44,33,34,36,39,17) สุจริต (good faith)(ม.12,18,27) รวดเร็ว (speedy trial)(ม.35,49)
การฟ้องคดีผู้บริโภค ผู้มีอำนาจฟ้องคดี(ม.19) อายุความ(ม.13,14) วิธีการฟ้องคดี(ม.20,21) ค่าฤชาธรรมเนียม(ม.18)
ภาระการพิสูจน์ในคดีผู้บริโภค หลักกล่าวอ้าง ข้อสันนิษฐานตามกฎหมาย(Presumption of law) ข้อสันนิษฐานตามความเป็นจริง(Presumption of facts) ข้อเท็จจริงที่อยู่ในความรู้เห็นของคู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งโดยเฉพาะ(Exclusive knowledge)(ม.29)
การสืบพยาน การสืบพยานไว้ก่อนฟ้องคดี (ม.22,23) การนัดพิจารณาและการขาดนัด (ม.24,25,26,27,28) ศาลมีบทบาทในการหาข้อเท็จจริง (ม.33,34,36)
การพิพากษาคดี คำพิพากษาอาจผูกพันบุคคลภายนอกที่ไม่ใช่คู่ความในคดี (ม.30,43) พิพากษาเกินคำขอได้ (ม.39) การกำหนดค่าเสียหายเพิ่มเติมภายหลังพิพากษาคดี (ม.40) ค่าเสียหายเชิงลงโทษ (ม.42)
ค่าเสียหายเชิงลงโทษ ม.42 Civil or Criminal? Intent or reckless or negligent? Cap or no cap? Where does it go? Insurable
การอุทธรณ์ฎีกา หลักความเป็นที่สุดของคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ (ม.49) การจัดตั้งแผนกคดีผู้บริโภคในศาลอุทธรณ์และศาลอุทธรณ์ภาค (ม.45,46) การขออนุญาตอุทธรณ์ในคดีที่ต้องห้ามมิให้อุทธรณ์ในข้อเท็จจริง (ม.48) การขออนุญาตฏีกา (ม.51,52) การพิพากษาคดีของศาลฎีกา (ม.54)
การคุ้มครองชั่วคราวก่อนพิพากษา การคุ้มครองชั่วคราวก่อนยื่นฟ้องคดี (ม.56-62) การคุ้มครองชั่วคราวในระหว่างพิจารณาคดี (ม.63)
การบังคับคดี ไม่จำต้องออกบังคับหากเนิ่นช้าไปจะไม่อาจบังคับคดีได้ (ม.64) หากภายหลังมีข้อขัดข้องในการบังคับคดี ศาลมีอำนาจออกคำสั่งใดๆเพื่อแก้ไขข้อขัดข้องดังกล่าว (ม.65)