โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้ป่วยแน่น OPD. ผู้ป่วยแน่น OPD ผู้ป่วยแน่น IPD.
Advertisements

การดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของรพ.สต.
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
การบูรณาการด้านนโยบายและกลไกทางการเงิน
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
พื้นที่รับผิดชอบของ นสค.
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
แนวนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
การพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
คณะทำงานกลุ่มที่ 1 ลำปาง เชียงราย อุตรดิตย์ ลำพูน พะเยา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
รพสต. ความปลอดภัยผลิตภัณฑ์ พฤติกรรม การโฆษณา การบริโภค หลอกลวง
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
การดำเนินการ รพ.สต. เขตตรวจราชการ ที่ 12
สรุปการประชุม เขต 10.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ประเด็นการตรวจราชการ
ประเด็นในการนำเสนอระบบข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต.
นักสุขภาพครอบครัว กับการเปลี่ยนแปลง๒๕๕๔ มุ่งมั่น พยายาม อดทน รอคอย 1.
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
1. เสือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย นพ. นิทัศน์ ราย ยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
ทางออกการจัดการปัญหา คนพิการเชิงรุก นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 10.
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สุธาทิพย์ รุ่งเรืองอนันต์ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
IM I-4 การวัด วิเคราะห์ performance ขององค์กร และการจัดการความรู้
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
ยุทธศาสตร์การเสริมพลัง
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
นสภ.ณัฐกานต์ ศรีกรินทร์
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
Health Referral System for Care of People with Diabetics foot
ปฐมภูมิ กับการเปลี่ยนแปลง อำเภอสุขภาพเข้มแข็ง ศรัทธา มุ่งมั่น พยายาม
ผลลัพธ์ปี 2556 สำหรับทีมงานdhs
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
โครงการลดความแออัดของผู้รับบริการผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลชลบุรี
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
การดูแลผู้ป่วยระยะยาว
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ บริการสุขภาพไร้รอยต่อ นพ.ศุภเลิศ เนตรสุวรรณ โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์

Continuum of care Integration of care Seamless care Coordination of care Case management Discharge plan Home Health care

First Page "Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipisicing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam, quis nostrud exercitation ullamco laboris nisi ut aliquip ex ea commodo consequat. Duis aute irure dolor in reprehenderit in voluptate velit esse cillum dolore eu fugiat nulla pariatur. Excepteur sint occaecat cupidatat non proident, sunt in culpa qui officia deserunt mollit anim id est laborum."

หากเป็นโรคเรื้อรัง จะพบแพทย์ 16 คน ใน 1 ปี พบแพทย์ปีละ 7 คน หากเป็นโรคเรื้อรัง จะพบแพทย์ 16 คน ผู้ป่วยร้อยละ 49 ถูกส่งต่อจากแพทย์ในหน่วยปฐมภูมิไปหา แพทย์เฉพาะทางโดยไม่มีประวัติการรักษาติดตัวไปด้วย แพทย์ในหน่วยปฐมภูมิได้รับข้อมูลตอบกลับจากแพทย์เฉพาะทาง เพียง ร้อยละ 55 Coordination between primary care physicians and specialists ผู้ป่วยร้อยละ 50 กลับบ้านไปโดยไม่เข้าใจสิ่งที่แพทย์บอกกับตนเอง ผู้ป่วยเพียงร้อยละ 9 มีส่วนร่วมในตัดสินใจด้านการดูแลรักษา ร้อยละ 75 ของแพทย์ ไม่ได้แจ้งผลการตรวจ (ที่ปกติ) ร้อยละ 33 ไม่ได้แจ้งผลการตรวจที่ผิดปติ

อุปสรรค ต่อการบริการแบบไร้รอยต่อ Powerpoint Templates

อุปสรรค 1 : การกำหนดบทบาทหน้าที่ กำหนดคนรับผิดชอบ เล่าเรื่อง 1. คนป้อนข้าวยาย 2. เล่าเรื่องการรักษาใน รพ. แพทย์กระดูกไม่จ่ายยาความดัน 3.เล่าเรื่องรับยาความดัน กับยาโรคหัวใจคนละจุดบริการ

รอยต่อ(Seam) & การซ้อนเหลื่อม(Overlap) การลดรอยต่อ และทำให้รอยต่อมีความแข็งแรงก็ต่อเมื่อต้องเป็นวัสดุเดียวกัน หากเป็นวัสดุคนละอย่างแล้วอาจจะต้องการการซ้อนเหลื่อมก้นจึงจะเกิดความแข็งแรง

การทำงานร่วมระหว่างวิชาชีพ การสร้างระบบสุขภาพมีความจำเป็นที่จะต้องอาศัยการทำงานที่ “ซ้อนเหลื่อมกัน” อย่างเพียงพอ โดยเฉพาะการทำงานที่มีความหลากหลายในวิชาชีพของตนเอง ที่ต้องไม่ถื่อว่าเป็นการก้าวก่ายหน้าที่กัน Multidisciplinary สหสาขาวิชาชีพ Interdisciplinary การทำงานร่วมระหว่างวิชาชีพ

2.ความเหนื่อยล้า-ข้อจำกัดด้านเวลา ของการให้บริการปฐมภูมิ/หมอครอบครัว ตรวจ ให้การรักษา Short term care Long term care ประสานงาน เวลาที่เหมาะสม 7.4 ชม./วัน สำหรับการให้คำแนะนำ 10.6 ชม./วัน สำหรับ long term care

3.ขาดความเชื่อมโยงของเวชระเบียน ร้อย 25 ของโรงพยาบาลใช้ E-medical record systems ลดค่าใช้จ่าย ลดการเดินทาง ลดการตรวจรักษาที่ซ้ำซ้อน

จำนวนใบ Refer ตอบกลับ รพ.ชุมชน 16 แห่ง ในเขต จ.เชียงราย เดือน จำนวนที่ส่ง (ราย) มีเฉพาะใบสีชมพู (ใบส่งตัวมา รพศ.) มีใบสีชมพู-เหลือง (ใบส่งตัวมา รพศ.และใบตอบกลับ) จำนวนใบตอบกลับ (ไม่ครบถ้วน) ชื่อ รพ.ที่ส่งกลับ ชื่อ-สกุล ผู้ป่วย มิ.ย. 1,470 46.46% 53.54% 50.31% ก.ค. 1,421 17.59% 82.41% 49.10%

ระบบการตอบกลับใบ refer ทาง e-office โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ ศูนย์ส่งต่อ(refer back) โทร.053-711300 ต่อ 2161 ใบ refer ทุกใบ (ผู้ป่วยใน) เวชระเบียน scan ศูนย์คอม ดึง file ส่ง e-office ให้ รพช.ทุกวัน (เวลา 13.30 น.เป็นต้นไป) ธุรการ รพช.รับเอกสาร เสนอตามระบบ

4.ระบบการให้ค่าตอบแทน เน้นปริมาณที่จำเพาะ (ไม่กล่าวถึงคุณภาพ) ไม่มีค่าตอบแทน Discharge plan การส่งต่อระหว่าง รพ. หรือ ส่งกลับบ้าน การประสานงาน

5.ขาดการบูรณาการในระบบ Lack of integrated systems of care

Start ห้องยา ห้อง X-ray Finish ห้อง lab ห้องการเงิน ห้องตรวจเวชกรรม ห้องให้คำปรึกษา ห้อง lab ห้องตรวจอายุกรรม ห้องยา ห้องตรวจเวชกรรม ห้องตรวจกุมาร ห้องเวชระเบียน ห้องตรวจสอบสิทธิ ห้องการเงิน ห้อง X-ray Finish

ปัจจัยแห่งความสำเร็จ

ปัจจัยแห่งความสำเร็จ 1.การใช้ระบบสารสนเทศ

แนวคิด : การเชื่อมโยงระบบสารสนเทศระหว่างหน่วยงาน รพ.เชียงราย HOMC MReccord HOSxP JHCIS Hospital OS นำร่องโดยระบบ Refer Link

2. การกำหนดข้อตกลงร่วมกัน (บูรณาการ) แนวทางการจัดระบบบริการ แนวทางการรักษา แนวทางการส่งต่อ แนวทางการจัดส่งข้อมูล ฯลฯ

Start ห้องยา ห้อง X-ray Finish ห้อง lab ห้องการเงิน ห้องตรวจเวชกรรม ห้องให้คำปรึกษา ห้อง lab ห้องตรวจอายุกรรม ห้องยา ห้องตรวจเวชกรรม ห้องตรวจกุมาร ห้องเวชระเบียน ห้องตรวจสอบสิทธิ ห้องการเงิน ห้อง X-ray Finish

คลินิกรักษ์ปอด Start Finish X-ray

3. Advance practiced Nurse

4. การจัดระบบสนับสนุนผู้ป่วย/ญาติ กระตุ้นให้ care giver เป็นผู้ประสานงาน กับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขอย่างมีประสิทธิภาพ

โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน ผู้สูงอายุ

4. ทีมจิ๋ว(Teamlet) เสริมศักยภาพการดูแลผู้ป่วยโดยเสริมศักยภาพ ทีมย่อย เช่น แพทย์ 1(รักษา)+ เจ้าหน้าที่ 1(ประสานงาน)

กรอบความคิด “บริการสุขภาพครบวงจร” นวก./GN ประเมิน วช. เอื้ออาทร อบรม NP จนท. มีกำลังใจ จนท. ครบถ้วน จนท. มีความรู้ ค่าตอบแทน ตามปริมาณงาน เชิงรุก อบรม 5 เสือ ปฐมภูมิ จพสช. เรียน GN ทีมงานสาธารณสุข มีสมรรถนะ เรียน SRM นักสุขภาพ ครอบครัว กองทุน คุณภาพ IT/GIS คุณภาพ จนท.:ประชาชน 1:1,250 รพสต. คุณภาพ อปท. ร่วมมือ ระบบส่งต่อ เอื้ออาทร เร่งรัดงาน เขตเมือง รพศ./ท. รับงานทุติย ภูมิ & ตติยภูมิเต็มที่ การเข้าถึงบริการ สุขภาพที่มีคุณภาพ รพช. ต่องานทุติย ภูมิแข็งขัน ประชาชนมีสุขภาวะ 5

5. ระบบปฐมภูมิที่เข้มแข็ง ใกล้ชิดผู้ป่วยที่สุด เป็นจุดประสานงาน (Coordinate)และเชื่อมต่อ (Hub)

โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ ขอบคุณครับ นพ.ศุภเลิศ เนตรสุวรรณ โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์