งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
ศ.นพ.พงษ์ศิริ ปรารถนาดี

2 ผู้สูงอายุไทย ประชากรไทย ชาย หญิง ประชากรสูงอายุ ร้อยละ 60-79 ปี
ประชากรสูงอายุ ร้อยละ ปี 80 ปีขึ้นไป ล้าน ล้าน ล้าน 10.5 ล้าน ล้าน ประชากรศาสตร์ มหิดล 2549

3 ผู้สูงอายุไทย ปี 2547 6.5 ล้าน อีก 20 ปีข้างหน้า 13.5 ล้าน
ปี ล้าน อีก 20 ปีข้างหน้า ล้าน กลุ่มอายุ 80 ปีขึ้นไป เพิ่มจาก แสน เป็น ล้านคน ขนาดครอบครัวไทย คน

4 ผู้สูงอายุไทย อายุเฉลี่ย ชาย หญิง 68.2 ปี 75.1 ปี
ปี ปี ประชากรศาสตร์ มหิดล 2549

5 การเจ็บป่วยเรื้อรัง วิถีชีวิต โรคเรื้อรัง ปัจจัยเสี่ยง
บุหรี่ แอลกอฮอล์ การออกกำลัง อาหาร สิ่งแวดล้อม ความดันโลหิตสูง เบาหวาน อ้วน ไขมันในเลือดสูง อุบัติเหตุ ไขข้ออักเสบ อัมพฤกษ์ อัมพาต ช่วยตัวเองไม่ได้ สมองเสื่อม ซึมเศร้า

6 ภาวะพึ่งพาผู้สูงอายุ (x 1,000)
ออกนอกบ้านไม่ได้ นอนติดเตียง ช่วยตัวเองไม่ได้ สมองเสื่อม 234 45 350 163 341 65 500 241 508 98 742 358

7 ประเด็นสำคัญของประชากร
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง - ประชากรสูงอายุมากขึ้น - ขนาดครอบครัวเล็กลง การเปลี่ยนแปลงทางสังคม - การเคลื่อนย้ายที่อยู่ - การเปลี่ยนรูปแบบการทำงาน - วิถีชีวิต / ค่านิยม นำไปสู่การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุ

8 มิติใหม่ : การดูแลผู้สูงอายุ
มิติใหม่ : การดูแลผู้สูงอายุ เน้นการส่งเสริมสุขภาพ - การป้องกันโรค ควรเน้นการดูแลในชุมชน การอยู่โรงพยาบาล เป็นทางเลือกเมื่อจำเป็น ให้เป็นหน้าที่ของชุมชน

9 มิติใหม่ : ระบบการดูแลสุขภาพ
มิติใหม่ : ระบบการดูแลสุขภาพ - สร้างสุขภาพ - บริการในชุมชน - สามารถดูแลตนเอง - คุ้มครองผู้บริโภค

10 กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน สอ.,รพช. วัด โรงเรียน กลุ่มแม่บ้าน อสม.
ภาคีเครือข่ายในชุมชน แกนหลักในการทำกิจกรรม ภาครัฐ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน สอ.,รพช. ภาคเครือข่าย ผู้สูงอายุ ภาคท้องถิ่น อบต. อบจ. เทศบาล ชมรมผู้สูงอายุ ภาคประชาสังคม วัด โรงเรียน กลุ่มแม่บ้าน อสม.

11 บริการสุขภาพ ชุมชน ดูแลตนเองได้ ชุมชน ดูแลตนเองไม่ได้
เข้าสู่ระบบบริการ รุกถึงประตูบ้าน

12 พยาบาล - อนามัย องค์กรชุมชน เจ้าหน้าที่ชุมชน- อสม. ชุมชน - เครือข่าย
ระบบบริการสุขภาพสู่ชุมชน แพทย์ นักกายภาพ/วิชาชีพ พยาบาล - อนามัย องค์กรชุมชน เจ้าหน้าที่ชุมชน- อสม ชุมชน - เครือข่าย บ้าน - ผู้สูงอายุ

13 กระบวนทัศน์ใหม่ : การบริการสุขภาพ
กระบวนทัศน์ใหม่ : การบริการสุขภาพ การบริการเชิงรับ นักกายภาพ/วิชาชีพ เน้นการรักษา ทุติยภูมิ / ตะติยภูมิ ปฐมภูมิ

14 การให้บริการเชิงรุก ปรับเปลี่ยนบทบาทบุคลากรทางสุขภาพ
ให้สอดคล้องกับการปฏิรูประบบสุขภาพ และการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย

15 หน้าที่หลัก : บุคลากรทางสุขภาพ
หน้าที่หลัก : บุคลากรทางสุขภาพ - เน้นสร้างความเข้มแข็งของชุมชน เรื่องสุขภาพ - ให้ข้อมูล ความรู้ด้านสุขภาพ - ให้คำปรึกษา ให้การอบรมดูแล - คอยพิทักษ์ผลประโยชน์ คุ้มครองสิทธิ

16 บทบาทของบุคลากรทางสุขภาพ
ในการดูแลผู้สูงอายุ (1) - การประเมินสุขภาพ (ADL,IADL) - การส่งเสริมสุขภาพ - สนับสนุนการดูแลตนเอง - การให้บริการสุขภาพ รูปแบบต่างๆ (Home Care, Home Health Care) - การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล - การจัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม

17 บทบาทของบุคลากรทางสุขภาพ
ในการดูแลผู้สูงอายุ (1) - การประเมินสุขภาพ (ADL,IADL) - การส่งเสริมสุขภาพ - สนับสนุนการดูแลตนเอง - การให้บริการสุขภาพ รูปแบบต่างๆ (Home Care, Home Health Care) - การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล - การจัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม

18 บทบาทของบุคลากรทางสุขภาพ
ในการดูแลผู้สูงอายุ (2) - การส่งต่อผู้ป่วย - การฟื้นฟูสภาพในชุมชน - จัดหาอุปกรณ์ที่จำเป็น - การดูแลแบบชั่วคราว - การดูแลระยะสุดท้าย (Hospice Care, Palliative Care) - การให้ข้อมูลแก่ญาติ ชุมชน - ให้คำปรึกษา ให้กำลังใจแก่ครอบครัว

19 บทบาทของบุคลากรทางสุขภาพ
ในการดูแลผู้สูงอายุ (3) - สนับสนุนการมีสัมพันธภาพ ผู้สูงอายุ , ครอบครัว , ชุมชน - อบรมผู้สูงอายุให้ดูแลตนเอง ครอบครัว , ผู้ดูแล - ให้กำลังใจผู้สูงอายุ , ผู้ดูแล - ขับเคลื่อนชุมชนให้มีส่วนร่วม - จัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต

20 “ช่วยเหลือตนเองไม่ได้” ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี
ส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ สร้างหลักประกัน กระบวนการสร้างความมั่นคง เป้าหมาย พัฒนาผู้สูงอายุ “ช่วยเหลือตนเองได้” สงเคราะห์ผู้สูงอายุ “ช่วยเหลือตนเองไม่ได้” ให้คงช่วยเหลือ ต่อไปให้นานที่สุด ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ตามอัตภาพ

21 กระบวนการสร้างหลักประกัน ในวัยสูงอายุ
- ช่วยเหลือตนเอง - ครอบครัวเกื้อหนุน - ชุมชนช่วยเหลือ - สังคม-รัฐ อุปถัมภ์

22 การบริการเชิงรุกอย่างบูรณาการ
- เข้าถึงประตูบ้าน - เน้นบุคคล-ครอบครัว ชุมชนพึ่งตนเอง (Self Care) เข้าถึงผู้ด้อยโอกาสและผู้ลำบาก - การดูแลแบบบูรณาการ - สุขภาพ - สังคม (Home Visit , Home Care Home Health Care Home Help Care)

23 การเข้าถึงบริการของผู้สูงอายุ
- ช่องทางพิเศษ - ระยะทาง - ความรู้ - ความจน - ข้อจำกัดทางร่างกาย , สุขภาพ


ดาวน์โหลด ppt การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google