การประชุมชี้แจง การจัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๕๑-๒๕๕๔

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
บรรยายขั้นตอนการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ
วันพุธที่ 21 มีนาคม 2555 เวลา น. ณ ตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบาล
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
04/04/60 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำงบประมาณจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
การบริหารงานงบประมาณ
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
การจัดทำงบประมาณ จังหวัด/กลุ่มจังหวัด
การขอจัดตั้งส่วนราชการ
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
กฎหมายการเงิน การคลังทั่วไป
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
รูปแบบการนำเสนอ หน่วยงาน
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
โครงการเงินอุดหนุนทั่วไป ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
กำลังคน กระทรวงสาธารณสุข
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
องค์ประกอบของแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ ระดับกระทรวง และกรม
ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย (ธสน.)
โครงการเปลี่ยนแปลงด้านขั้นตอน / วิธีปฏิบัติงาน (นักพัฒนามาตรฐาน)
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
ผังการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีเพชร
1. ข้อมูลพื้นฐานของ 1) วิสัยทัศน์ 2) พันธกิจ 3) อำนาจหน้าที่
แนวคิดความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ โครงการ และงบประมาณ
ประเด็นที่ 1 ให้ทบทวนโยบายแนว ทางการดำเนินงานที่ ผ่านมา ของ ส. ป. ก. พร้อมทั้งวิเคราะห์ ปัญหาอุปสรรค และ แนวทางแก้ไข 1. กิจกรรมการจัดที่ดินและคุ้มครองพื้นที่
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
“การถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับองค์กรลงสู่ระดับบุคคล”
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
Strategy Map สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร ปีงบประมาณ พ.ศ.2553
29 พฤษภาคม ความเป็นมา ตัวชี้วัดที่ 2.1 พีรพร พร้อมเทพ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมส่งเสริม การเกษตร.
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
"เป็นหน่วยงานหลักในการประสาน และผลักดันยุทธศาสตร์กระทรวง
การเตรียม ความพร้อมในการจัดทำงบประมาณปี 2550
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
เอกสารประกอบ การประชุมผู้บริหารกรมป่าไม้ วันอาทิตย์ที่ 2 พฤศจิกายน พ. ศ.2557 ณ จังหวัดตรัง จัดทำโดย สำนักแผนงานและสารสนเทศ กรม ป่าไม้ กรมป่า ไม้
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
สำนักประสานและติดตามนโยบาย ???
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
สรุปการประชุมระดมความคิด
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
สรุป การสัมมนา “การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี 2555”
วิสัยทัศน์จังหวัด “เมืองน่าอยู่ ประตูการค้าชายแดน”
แนวทางการเตรียมการจัดทำ งบประมาณรายจ่ายประจำปี งบประมาณ พ.ศ.2554
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
แผนการบริหารราชการแผ่นดิน แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
1.1 ผลการปฏิบัติราชการตามแผนปฏิบัติราชการของ จังหวัด 1) ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานตามนโยบายการกำ ดับดูแลองค์การที่ดีจังหวัดแพร่ 2) ปฏิบัติราชการตามคำรับรองปฏิบัติราชการและการ.
พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวก ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประชุมชี้แจง การจัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๕๑-๒๕๕๔ โดย นายอำพน กิตติอำพน เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

ประเด็นนำเสนอ ความเป็นมา องค์ประกอบคณะกรรมการจัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน โครงสร้างของแผนการบริหารราชการแผ่นดิน แนวทางการจัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน ระยะเวลาดำเนินการจัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน แบบฟอร์มการจัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน

ความเป็นมา รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 76 กำหนดให้รัฐบาลต้อง จัดทำ แผนการบริหารราชการแผ่นดิน ที่สอดคล้องกับแนวนโยบาย พื้นฐานแห่งรัฐ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 และ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่า ด้วยการจัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2547 และ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2548 ข้อ 5 กำหนดให้มี คณะกรรมการจัดทำ แผนการบริหารราชการแผ่นดิน มีหน้าที่พิจารณาร่างแผนการบริหาร ราชการแผ่นดินให้แล้วเสร็จและเสนอนายกรัฐมนตรีภายใน 60 วัน นับแต่วันที่ คณะรัฐมนตรีแถลงนโยบายต่อรัฐสภา และเมื่อนายกรัฐมนตรีเห็นชอบแล้วให้เสนอ คณะรัฐมนตรีพิจารณาต่อไป

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 มาตรา 16 ได้กำหนดให้ส่วนราชการต้อง ดำเนินการจัดทำ แผนปฏิบัติราชการระยะ 4 ปี ให้สอดคล้องกับแผนบริหาร ราชการแผ่นดิน และแผนปฏิบัติราชการประจำปี นำเสนอรัฐมนตรีเจ้าสังกัด ให้ความเห็นชอบและให้สำนักงบประมาณจัดสรรงบประมาณในแต่ละภารกิจตาม แผนปฏิบัติราชการ ดังนั้น เมื่อคณะรัฐมนตรีได้ให้ความเห็นชอบแผนบริหารราชการแผ่นดิน แล้วส่วนราชการจะต้องเร่งจัดทำแผนปฏิบัติการ ระยะ 4 ปี และ แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2552 เพื่อใช้ประกอบการพิจารณา จัดสรรงบประมาณปี 2552 ต่อไป

องค์ประกอบคณะกรรมการจัดทำแผนการบริหารฯ รายชื่อ ตำแหน่ง 1. รองนายกรัฐมนตรี (นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์) ประธาน 2. เลขาธิการคณะรัฐมนตรี กรรมการ 3. เลขาธิการนายกรัฐมนตรี 4. เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 5. ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ 6. เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ 7. ผู้ทรงคุณวุฒิ (นายการุณ กิตติสถาพร) 8. รองเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ) เลขานุการ 9. รองเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ผู้ช่วยเลขานุการ

โครงสร้างแผนการบริหารราชการแผ่นดิน แนวคิดและทิศทางการบริหารประเทศ นโยบายการบริหารราชการแผ่นดิน ประกอบด้วย 8 นโยบาย นโยบายที่ 1 ฟื้นฟูความเชื่อมั่นของประเทศ (นโยบายเร่งด่วนที่จะเริ่มดำเนินการในปีแรก) นโยบายที่ 2 สังคมและคุณภาพชีวิต นโยบายที่ 3 เศรษฐกิจ นโยบายที่ 4 ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม นโยบายที่ 5 วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม นโยบายที่ 6 การต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ นโยบายที่ 7 ความมั่นคงของรัฐ นโยบายที่ 8 นโยบายการบริหารจัดการที่ดี กลไกการนำแผนการบริหารราชการแผ่นดินไปสู่การปฏิบัติ หน่วยงานรับผิดชอบ งบประมาณสนับสนุนนโยบาย แนวทางการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล บทสรุป

แนวทางการจัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน รนม. และ รมว. เป็นผู้กำกับและมอบนโยบายรัฐบาลและแผนพัฒนาด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้ส่วนราชการจัดทำยุทธศาสตร์ แนวทาง แผนงานหรือโครงการ ส่วนราชการในสังกัดกระทรวง นำนโยบายที่ได้รับมอบหมาย มาประกอบการจัดทำแผนฯ ตามแบบฟอร์มที่คณะกรรมการฯ กำหนด โดย สามารถปรับแผนการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2551 ให้สอดคล้องกับนโยบาย รัฐบาล และแผนพัฒนาด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง นำเสนอเป้าหมายและตัวชี้วัดระดับนโยบายที่แสดงในแบบฟอร์มที่ 2 สำหรับ ตัวชี้วัดระดับแผนงานและโครงการ ให้แสดงในแบบฟอร์มที่ 4 สามารถเพิ่มเติมประเด็นนโยบายในแบบฟอร์มที่ 2 ให้สอดคล้องกับแนวนโยบาย พื้นฐานแห่งรัฐตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ และแผนพัฒนาด้านต่างๆ ที่ เกี่ยวข้อง พิจารณากำหนดแผนงานหรือโครงการสำคัญที่มีความสอดคล้อง ความพร้อม ความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ และลำดับความสำคัญด้วย

แนวทางการจัดทำแผนบริหารราชการแผ่นดิน 3. กระทรวง บูรณาการแผนของส่วนราชการในสังกัดโดยความเห็นชอบของ รมว. และ รนรม. และจัดส่งให้ สงป. สศช. ก.พ.ร. 4. ฝ่ายเลขานุการ พิจารณาข้อเสนอของกระทรวง ด้านบูรณาการและ ความสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลและแผนอื่นๆ ความพร้อมของแผนงาน/โครงการ (Flagship Project) และกรอบวงเงินงบประมาณ โดย สงป. จะเป็นผู้พิจารณา รายละเอียดด้านงบประมาณ สศช. และ ก.พ.ร. พิจารณาด้านแผนงาน/โครงการ เพื่อ นำเสนอคณะกรรมการฯ ให้ความเห็นชอบ คณะกรรมการฯ นำเสนอแผนต่อ นรม. และ ครม. ให้ความเห็นชอบ เพื่อใช้เป็น แนวทางในการบริหารราชการแผ่นดินต่อไป การติดตามประเมินผลแผนฯ ก.พ.ร. และ สงป. เป็นผู้รับผิดชอบ ดำเนินการ โดยจะติดตามจากแผนปฏิบัติราชการประจำปีของส่วนราชการ

ระยะเวลาดำเนินการจัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน ครม. แถลงนโยบายต่อรัฐสภา (18-20 ก.พ. 2551) คณะกรรมการจัดทำแผนฯ รนรม./รมว. มอบนโยบาย/กำกับการจัดทำแผนฯ สศช./สงป./ก.พ.ร. พิจารณาและ บูรณาการแผน/งบประมาณ (3-7 มี.ค. 2551) นำเสนอ นรม. และ ครม. (11 มี.ค. 2551) นรม. ประชุมชี้แจงนโยบาย/การจัดทำแผนฯ (25 ก.พ. 2551) ส่วนราชการจัดทำแผนฯ แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (26-29 ก.พ. 2551) แผนปฏิบัติราชการประจำปี (คำของบประมาณ)

การแบ่งผู้รับผิดชอบจัดทำแผนการบริหารราชการ นโยบายรัฐบาล เจ้าภาพ หน่วยงานเลขานุการฯ 1. นโยบายฟื้นฟูความเชื่อมั่นของประเทศ รองนายกรัฐมนตรี ที่ได้รับมอบหมาย สศช. 2. นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต รองนายกรัฐมนตรี (นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์) 3. นโยบายเศรษฐกิจ รองนายกรัฐมนตรี (นายสุรพงษ์ สืบวงศ์ลี/ นายมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ์/นายสหัส บัณฑิตกุล พลตรี สนั่น ขจรประศาสน์/นายสุวิทย์ คุณกิตติ) 4. นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รองนายกรัฐมนตรี (นายสหัส บัณฑิตกุล/ พลตรี สนั่น ขจรประศาสน์) ทส. 5. นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม รองนายกรัฐมนตรี (นายสหัส บัณฑิตกุล) วท. 6. นโยบายการต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ รองนายกรัฐมนตรี (นายมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ์) กต. 7. นโยบายความมั่นคงของรัฐ รองนายกรัฐมนตรี (นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์) สมช. / สศช. 8. นโยบายการบริหารจัดการที่ดี รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี (นายชูศักดิ์ ศิรินิล / นายจักรภพ เพ็ญแข) ก.พ.ร. / สศช.

แบบฟอร์มประกอบการจัดทำแผนบริหารราชการแผ่นดิน แบบฟอร์ม 1 (ตารางกลไกการนำแผนการบริหารราชการแผ่นดินไปสู่การปฏิบัติ) แบบฟอร์ม 2 (ตารางข้อมูลแผนการบริหารราชการแผ่นดิน) แบบฟอร์ม 3 (ข้อมูลโครงการสำคัญตามนโยบายรัฐบาล) แบบฟอร์ม 4 (ตารางแสดงรายละเอียดแหล่งเงินลงทุน แผนงาน/โครงการ) แบบฟอร์ม 5 (ตารางภาพรวมงบประมาณของกระทรวง)

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (3) แบบฟอร์ม 1 : ตารางกลไกการนำแผนการบริหารราชการแผ่นดินไปสู่การปฏิบัติ ประเด็นยุทธศาสตร์ (1) เจ้าภาพยุทธศาสตร์ (2) หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (3) หน่วยงาน เลขานุการ (4) 1. นโยบายพื้นฟูความเชื่อมั่นของประเทศ (นโยบายเร่งด่วนที่จะเริ่มดำเนินการ ในปีแรก) รองนายกรัฐมนตรี ที่ได้รับมอบหมาย วท./กห./มท./ตร./ยธ./กค./พน./อก./นร./ คค./กษ./ทส./พม./ศธ./พณ./กก. สศช. 2. นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต รองนายกรัฐมนตรี (นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์) ศธ./รง./สธ./วท./พม. 3. นโยบายเศรษฐกิจ รองนายกรัฐมนตรี(นายสุรพงษ์ สืบวงศ์ลี/ นายมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ์/นายสหัส บัณฑิตกุล/พลตรี สนั่น ขจรประศาสน์/นายสุวิทย์ คุณกิตติ) กค./กษ./อก./กก./พณ./คค./พน./ทก. นโยบายที่ดินทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รองนายกรัฐมนตรี (นายสหัส บัณฑิตกุล / พลตรี สนั่น ขจรประศาสน์) ทส./กษ./พน./วท. ทส. 5. นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม รองนายกรัฐมนตรี (นายสหัส บัณฑิตกุล) วท./ศธ. วท. 6. นโยบายการต่างประเทศเศรษฐกิจระหว่างประเทศ รองนายกรัฐมนตรี (นายมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ์) กต./รง. กต. นโยบายความมั่นคงของรัฐ รองนายกรัฐมนตรี (นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์) นร./กห./มท./กต./ตร. สมช./สศช. 8. นโยบายการบริหารจัดการที่ดี รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี (นายชูศักดิ์ ศิรินิล /นายจักรภพ เพ็ญแข ) นร./ทก./ยธ. ก.พ.ร./สศช.

แบบฟอร์ม 2 : ตารางข้อมูลแผนการบริหารราชการแผ่นดิน นโยบายทิ่ 1 ฟื้นฟูความเชื่อมั่นของประเทศ (ตัวอย่าง) เป้าหมาย 1) กองทุนหมู่บ้านมีศักยภาพและ ความเข้มแข็ง 2) 3) ตัวชี้วัด 1) กองทุนหมู่บ้านยกฐานะเป็น ธนาคารหมู่บ้าน ร้อยละ 20 2) 3) หน่วย : ล้านบาท ประเด็นนโยบาย (1) กลยุทธ์/วิธีดำเนินการ (2) แผนงาน/โครงการสำคัญ (3) วงเงินโครงการ (4) วงเงินจำแนกรายปี (5) วงเงิน 2551-54 (6) หน่วยงานรับผิดชอบ (7) 2551 2552 2553 2554 1.5 การเพิ่มศักยภาพกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง โครงการให้ความรู้ด้านการบริหารจัดการที่ดีสำหรับกองทุนหมู่บ้าน

แบบฟอร์ม 2 : ตารางข้อมูลแผนการบริหารราชการแผ่นดิน นโยบายทิ่ 3 เศรษฐกิจ (ตัวอย่าง) เป้าหมาย (ระดับนโยบาย) 1) เพิ่มมูลค้าผลผลิตทางการเกษตรและรายได้เกษตรกร 2) 3) ตัวชี้วัด 1) มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคเกษตรเพิ่มจาก ..... เป็น ..... ลบ. 2) 3) หน่วย : ล้านบาท ประเด็นนโยบาย (1) กลยุทธ์/วิธีดำเนินการ (2) แผนงาน/โครงการสำคัญ (3) วงเงินโครงการ (4) วงเงินจำแนกรายปี (5) วงเงิน 2551-54 (6) หน่วยงานรับผิดชอบ (7) 2551 2552 2553 2554 3.2 นโยบายปรับโครงสร้างภาคเกษตร สร้างมูลค่าสินค้าเกษตรโดยเน้นการยกระดับมาตรฐานสินค้า และระบบตรวจสอบรับรอง โครงการยกระดับมาตรฐานสินค้าเกษตร โครงการระบบตรวจสอบรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตร

แบบฟอร์ม 3 : ข้อมูลโครงการสำคัญตามนโยบายรัฐบาล 1. ชื่อโครงการ......................................................... 1.1 หน่วยงานรับผิดชอบ (ระดับกรม/ระดับกระทรวง)........ 1.2 ผู้ติดต่อประสานงาน (contact person) 1.2.1 ชื่อ-นามสกุล...........ตำแหน่ง……………......... สังกัด…………………………………………....... 1.2.2 โทรศัพท์……………โทรศัพท์เคลื่อนที่……….... โทรสาร................E-mail address…………… 2. วัตถุประสงค์……………………………………………. 3. เป้าหมาย………………………………………............ 4. ผลผลิต (output)…………………………................ ผลลัพท์ (outcome)…………………………............ ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ (KPIs)................................. 5. ความสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล (ข้อ)……........... 6. ระยะเวลาดำเนินโครงการ……………………………… 7. วงเงินโครงการ…………...........................ล้านบาท (โปรดระบุแหล่งเงินรายปี 2551-2554 ดังที่ปรากฏตามแบบฟอร์ม 4 ) 8. สถานะโครงการ (โปรดทำเครื่องหมาย  และเลือกได้มากกว่า 1 ข้อ) 8.1  ศึกษาความเหมาะสม (FS) 8.5  ออกแบบรายละเอียด อยู่ระหว่างดำเนินการ แล้วเสร็จ อยู่ระหว่างดำเนินการ 8.2  ศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม (IEE/EIA) 8.6  ความพร้อมด้านที่ดิน/พื้นที่ดำเนินโครงการ อยู่ระหว่างดำเนินการจัดหาที่ดิน คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติเห็นชอบ 8.3  การรับฟังความคิดเห็น 8.7  ประกวดราคา 8.4  กระบวนการนำเสนอ ค.ร.ม. 8.8  ก่อสร้าง/ดำเนินการ อยู่ระหว่างการนำเสนอ อนุมัติดำเนินการเมื่อ ………………………… 8.9  อื่นๆ________ หมายเหตุ ……………………………………….........................................................................................................................................................................................................................

แบบฟอร์ม 4 : ตารางแสดงรายละเอียดแหล่งเงินลงทุน แผนงาน/โครงการ หน่วยงาน (กรม) ........................................ (กระทรวง) .................................. หน่วย : ล้านบาท

แบบฟอร์ม 5 : ตารางภาพรวมงบประมาณของกระทรวง หน่วย : ล้านบาท (ทศนิยม 4 ตำแหน่ง) รายการ ปีงบประมาณ รวม 2551 2552 2553 2554 ค่าใช้จ่ายดำเนินการตามภารกิจพื้นฐาน   1.1 รายจ่ายขั้นต่ำที่จำเป็น 1.2 รายจ่ายชำระดอกเบี้ยเงินกู้ 1.3 รายจ่ายตามภารกิจพื้นฐาน 2. ค่าใช้จ่ายดำเนินการตามนโยบาย 2.1 นโยบายต่อเนื่อง 2.2 นโยบายใหม่ 3. รายจ่ายชำระคืนต้นเงินกู้ รวม (1+2+3) คำนิยาม 1. ค่าใช้จ่ายดำเนินการตามภารกิจพื้นฐาน ประกอบด้วย รายจ่ายขั้นต่ำที่จำเป็น ดอกเบี้ย รายจ่ายตามภารกิจพื้นฐาน 1.1 รายจ่ายขั้นต่ำที่จำเป็น หมายถึง รายจ่ายประจำขั้นต่ำที่จำเป็นต้องจัดสรรงบประมาณให้ตามสิทธิ... 1.2 รายจ่ายชำระดอกเบี้ยเงินกู้ หมายถึง ดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ที่เกิดจากการกู้เงิน 1.3 รายจ่ายตามภารกิจพื้นฐาน หมายถึง รายจ่ายที่เกิดขึ้นตามหน้าที่ความรับผิดชอบ... 2. ค่าใช้จ่ายดำเนินการตามนโยบาย ไม่รวมค่าใช้จ่ายดำเนินการตามภารกิจพื้นฐานตามข้อ 1 2.1 นโยบายต่อเนื่อง (Existing Policy) หมายถึง ผลผลิต/โครงการ กิจกรรม ที่ส่วนราชการ... 2.2 นโยบายใหม่ (New Policy) หมายถึง ผลผลิต/โครงการ กิจกรรม ที่ริเริมดำเนินการ...

คำนิยาม 1. ค่าใช้จ่ายดำเนินการตามภารกิจพื้นฐาน ประกอบด้วย รายจ่ายขั้นต่ำที่จำเป็น ดอกเบี้ย รายจ่ายตามภารกิจพื้นฐาน 1.1 รายจ่ายขั้นต่ำที่จำเป็น หมายถึง รายจ่ายประจำขั้นต่ำที่จำเป็นต้องจัดสรรงบประมาณให้ตามสิทธิหรือ ข้อกำหนดตามกฎหมาย ในส่วนที่ยังไม่รวมเนื้องาน ประกอบด้วย ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบุคลากร ค่าเช่า ทรัพย์สิน (ที่ดิน/อาคาร) และค่าสาธารณูปโภค (ค่าไฟฟ้า ประปา โทรศัพท์) ไม่รวมค่าเช่าบ้านตามสิทธิ และค่าเช่าทรัพย์สิน (ที่ดิน/อาคาร) ที่แสดงไว้ในรายการภาระผูกพันงบประมาณข้ามปีงบประมาณแล้ว 1.2 รายจ่ายชำระดอกเบี้ยเงินกู้ หมายถึง ดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ที่เกิดจากการกู้เงิน 1.3 รายจ่ายตามภารกิจพื้นฐาน หมายถึง รายจ่ายที่เกิดขึ้นตามหน้าที่ความรับผิดชอบที่ต้องดำเนินการเป็น ปกติประจำตามกฎหมายจัดตั้งหน่วยงานนั้นๆ หากหยุดดำเนินการอาจก่อให้เกิดความเสียหายในการ ให้บริการสาธารณะของภาครัฐ ซึ่งมีลักษณะงานและปริมาณงานที่ชัดเจนต่อเนื่องไม่เปลี่ยนแปลงไปตาม เงื่อนไขเชิงยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาประเทศ หรือนโยบายรัฐบาล 2. ค่าใช้จ่ายดำเนินการตามนโยบาย ไม่รวมค่าใช้จ่ายดำเนินการตามภารกิจพื้นฐานตามข้อ 1 2.1 นโยบายต่อเนื่อง (Existing Policy) หมายถึง ผลผลิต/โครงการ กิจกรรม ที่ส่วนราชการได้มีการทบทวน แล้วเห็นว่า สอดรับกับนโยบายรัฐบาลชุดนี้ และยังมีความจำเป็นที่ต้องดำเนินการต่อเนื่อง 2.2 นโยบายใหม่ (New Policy) หมายถึง ผลผลิต/โครงการ กิจกรรม ที่ริเริมดำเนินการตามนโยบายสำคัญ ของรัฐบาลชุดนี้ โดยพิจารณาเรียงลำดับความสำคัญ และสามารถดำเนินการได้จริงตามนโยบายเร่งด่วน และนโยบายรัฐบาลที่จะดำเนินการภายในช่วงวาระ 4 ปีของรัฐบาล

ขอบคุณ www.nesdb.go.th www.bb.go.th www.opdc.go.th