 อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม  อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2548
Advertisements

คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
สำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 3 (ลำปาง) กรมป่าไม้
ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
 อุตสาหกรรมโลหะ อโลหะ และผลิตภัณฑ์  อุตสาหกรรมขนส่ง
Profi le Prod uct Depl oy Outp ut VISION MISSION - สร้างความรู้ - วิจัย - บริการ - สร้างบัณฑิต นโยบาย - บริหาร 13 ข้อ - การเรียนการ สอน 3 ข้อ - พัฒนานักศึกษา.
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 10
มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ
งป. ทั้งหมด งป. เบิกจ่าย สวรส. วิท ย์ แพทย์สุขภา พจิต สบ ส. อนา มัย คร.คร. พัฒนฯอย , , ,061.3.
ผอ. สำนัก สถาปัตยกรรม (1/2) กลุ่มงาน สถาปัตยกรรม ข้าราชการ พนักงาน ราชการ 11 ลูกจ้างประ จำ -- กลุ่มงานงานตรวจสอบงาน สถาปัตยกรรมและงานกำหนด มาตรฐาน.
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
การใช้พลังงานในเศรษฐกิจไทย
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
สำเร็จการศึกษาในเวลา 4 ปี
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรของไทย
1 2 ตามลักษณะ เศรษฐกิจ งบประมา ณ ตาม พ. ร. บ. ( ล้าน บาท ) ได้รับ จัดสรร ( ล้าน บาท ) เบิกจ่าย ร้อย ละ / งบ จัดสร ร สำนัก ชลประทานที่ 13 1,164,64 0,305.
การขอเบิกเงินนอกงบประมาณ
ตารางเปรียบเทียบ ปริมาณน้ำฝน - ปริมาณน้ำท่า กลุ่มลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำโขง
รายงานผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
ความรู้พื้นฐานการเชื่อมโยงเครือข่าย
ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 2 พัฒนาและยกระดับมาตรฐานความปลอดภัย ด้านอาหาร เวชภัณฑ์ และสิ่งแวดล้อม พัฒนาและยกระดับมาตรฐานความปลอดภัย ด้านอาหาร เวชภัณฑ์ และสิ่งแวดล้อม.
ตำบลนาตงวัฒนา อำเภอโพนนาแก้ว จังหวัดสกลนคร
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
 อุตสาหกรรมเกษตร  อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม
 อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม  อุตสาหกรรมเกษตร
 อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม  อุตสาหกรรมไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้
 อุตสาหกรรมไฟฟ้า  อุตสาหกรรมโลหะ อโลหะ และผลิตภัณฑ์
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการ การตรึงราคา/กำหนดระดับราคาน้ำมัน
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ ของขวัญปีใหม่ในปี 2547
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน ที่มีต่อการบริหารงานของรัฐบาล
สรุปผลการสำรวจ ความต้องการของประชาชนเกี่ยวกับ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ประมาณการภาพรวมพลังงานไทย ( )
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
มาตรการควบคุมสินค้าและบริการควบคุม ปี 2554 รายการสินค้าและบริการควบคุม
งานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2551
สำนักวิชาการและแผนงาน
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
โครงการเทียบเท่าผลผลิต ประจำปีงบประมาณ 2550
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยล่าสุด (ณ เดือนตุลาคม) และแนวโน้มไตรมาส 3/50 และ 4/50
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ วันที่ มิถุนายน คะแนน ระดับดีมาก.
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
ผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน ( O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้จัดทำ นางสาวภัทศิรา ภูมิเมือง เลขที่ 16 นางสาวสุพัชรญา มะโนรา เลขที่
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ธันวาคม 2553 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สรุปผลสัมฤทธิ์ปีการศึกษา 2552 ชั้ น จำนว นสาระการเรียนรู้ นักเรี ยนทค ค. เพิ่มวสพ.พ. ศ.ศ. ดน ตรีง.ง. คอ ม. อ อ. เพิ่ม ป.1ป
ขั้นตอนการจัดนักศึกษาเข้าสังกัดสาขาวิชา
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กุมภาพันธ์ 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
กราฟเบื้องต้น.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ตุลาคม 2553 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
ภาวะราคาปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดชุมพร จังหวัดกระบี่
ปฏิทินการประชุม คณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค.ก.ค. ส.ค.ส.ค. ก.ย.ก.ย. ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค
การเขียนรายงานผล การดำเนินงานตามระบบส่งเสริมการเกษตรมิติใหม่ (MRCF)
รายงานความก้าวหน้าการตรวจติดตามประเมิน
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทาง ระบาดวิทยา 1 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง.
บรรยายสรุปจังหวัดขอนแก่น
ชื่อเรื่อง. ผลการติดตามลักษณะการมีงานทำ ภายใน 1 ปี
แผนภูมิแสดงแผนและผลการใช้จ่ายงบประมาณปี 2549 การใช้ จ่าย ( สะสม ) ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค. ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค. ก.ค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสร้างโอกาสทางอาชีพในจังหวัดเพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ สมุทรสงคราม สมุทรสาคร จากการจัดอาชีวศึกษา  อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม  อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม  อุตสาหกรรมยาง  อุตสาหกรรมโลหะ อโลหะ และผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม เป้าหมาย สถานประกอบการ นักเรียน นักศึกษา อาชีวะ ผู้ใช้ เพิ่มพูน ทักษะและ คุณวุฒิ สูงขึ้น การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ผู้ซ่อม การแก้ไขปัญหาความยากจน พัฒนาคน สังคม และชุมชนที่มีคุณภาพ  ศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการ  ศูนย์วิทยุชุมชน  อาชีวะแก้ปัญหาความยากจน  ต่อยอดองค์ความรู้ และเพิ่มมูลค่าสินค้าชุมชน  สิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่และนวัตกรรมตามความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น  Fix It Center อาชีวะร่วมด้วยช่วยประชาชน  ถนนอาชีพ และ ๑๐๘ อาชีพ ฯลฯ ผู้สร้าง อาชีพอิสระ สนองความต้องการ ชุมชนท้องถิ่น (ช่างชุมชน)  ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา งานหาคน คนหางาน เรียนเป็นเรื่อง เป็นชิ้นงาน เป็นโครงการ เทียบโอนประสบการณ์ ต่อยอดความรู้ เรียนไปด้วย ทำงานไปด้วย มีรายได้ระหว่างเรียน คุณวุฒิวิชาชีพให้ความสำคัญกับประสบการณ์และทักษะ  การบริหารจัดการกำลังคน  เครือข่ายชุมชน (อบจ. อบต.) และเครือข่ายสถานประกอบการ สร้างและพัฒนา ความเป็นผู้ประกอบการ ให้ความรู้ด้านการทำธุรกิจ แก่ผู้ผลิต พัฒนาผลิตภัณฑ์ ให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

จังหวัดเพชรบุรี สถานศึกษา ที่ตั้งที่เป็นโอกาส ข้อมูลพื้นฐาน สังกัด สพฐ. 264 แห่ง (สปช. 239 แห่ง และสศ. 25 แห่ง) สังกัด เอกชน 37 แห่ง สังกัด กศน. 8 แห่ง สังกัด อุดมศึกษา 3 แห่ง สังกัด สอศ. 6 แห่ง 1. วท.เพชรบุรี 2. วอศ.เพชรบุรี 3. วษท.เพชรบุรี 4. วช.เพชรบุรี 5. วก.เขาย้อย 6. วก.บ้านลาด ที่ตั้งที่เป็นโอกาส ทิศตะวันออก ติดกับ ทะเลอ่าวไทย ทิศตะวันตก มีเขตติดต่อกับประเทศสหภาพพม่า สภาพเศรษฐกิจ รายได้เฉลี่ยต่อคน 96,744 บาท ต่อปี (อันดับ 2 ของภาค อันดับ 17 ของประเทศ) ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากภาคเกษตร มีมูลค่าการผลิต 22.38 % รองลงมาสาขาการผลิต อุตสาหกรรม 19.23% และสาขาการขายส่ง การขายปลีก 13 % อาชีพหลักของจังหวัด เกษตรกรรม ได้แก่ ทำนา ทำไร่ ทำสวน ประมง และปศุสัตว์ ประชากร จำนวนประชากร 453,982 คน (พ.ศ.2549) สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน ข้อมูลพื้นฐาน จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 มีจำนวน 32,548 คน หรือ 10.81% จำนวนผู้ว่างงาน 3,014 คน เป็นชาย 1,705 คน เป็นหญิง 1,309 คน อัตราการว่างงาน 0.7% ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุดจำนวน 81,322 คน หรือ 32.65% ลำดับรองลงมาคือ พนักงานบริการ พนักงานร้านค้าและ ตลาด 46,530 คน หรือ 18.68% ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ 1) ผลิตขนมหวานและขนมพื้นเมือง 2) ผลิตภัณฑ์ไม้ตาล 3) ผลิตน้ำตาลโตนด 4) ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากมะนาว 5) อาชีพเกลือทะเล/เกลือสมุนไพร 6) อาชีพไม้ดัด 7) ศิราภรณ์ของที่ระลึกปิดทอง 8) อาชีพแปรรูปสมุนไพร 9) อาชีพจักสานป่านศรนารายณ์ 10) อาชีพทอผ้า (ที่มา อศจ.เพชรบุรี) ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป เป็นลูกจ้างเอกชนสูงที่สุด 90,537 คน หรือ 36.35% ลำดับรองลงมาทำงานส่วนตัว 82,904 คน หรือ 33.29% และช่วยธุรกิจครัวเรือน 50,161 คน หรือ 20.14% แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 3,038 คน หรือ 1.22% โดยภาพรวมต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา 185,432 คน หรือ 74.44% เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 9,894 คน หรือ 3.97% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมขนส่ง มีสถานประกอบการ 4 แห่ง มีการจ้างงาน 348 คน ที่มา สำนักงานสถิติแห่งชาติ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สถานศึกษา สังกัด สพฐ. 241 แห่ง (สปช. 220 แห่ง และสศ. 21แห่ง) สังกัด เอกชน 28 แห่ง สังกัด กศน. 8 แห่ง สังกัด อุดมศึกษา 1 แห่ง สังกัด สอศ. 4 แห่ง 1. วท.ประจวบคีรีขันธ์ 2. วก.วังไกลกังวล 3. วก.บางสะพาน 4. วก.ปราณบุรี ที่ตั้งที่เป็นโอกาส ทิศตะวันออก ติดกับ ทะเลอ่าวไทย ทิศตะวันตก มีเขตติดต่อกับประเทศสหภาพพม่า สภาพเศรษฐกิจ รายได้เฉลี่ยต่อคน 93,366 บาท ต่อปี (อันดับ 3 ของภาค อันดับ 19 ของประเทศ) ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากภาคเกษตร มีมูลค่าการผลิต 24.58% รองลงมาการผลิต อุตสาหกรรม 22.71% และการขายส่ง การขายปลีก 13.42% อาชีพหลักของจังหวัด การประมงทะเล การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง ประชากร จำนวนประชากร 486,797 คน (พ.ศ.2549) สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน ข้อมูลพื้นฐาน จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 มีจำนวน 36,330 คน หรือ 11.42% จำนวนผู้ว่างงาน 563 คน เป็นชาย 495 คน เป็นหญิง 69 คน อัตราการว่างงาน 0.1% ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุด จำนวน 105,473 คน หรือ 39.72% ลำดับรองลงมาคืออาชีพขั้นพื้นฐานต่าง ๆ ในด้านการขายและการให้บริการ 44,535 คน หรือ 16.77% และ พนักงานบริการ พนักงานร้านค้าและตลาด 38,540 คน หรือ 14.51% ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ 1) เลี้ยงวัวนม วัวเนื้อ 2) เลี้ยงกุ้ง 3) ทำสวนยาง ปาล์ม มะพร้าว 4) แปรรูปอาหารทะเล 5) อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ 6) ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในเรือประมง 7) เครื่องยนต์ชีวภาพพลังงานทดแทน 8) อุตสาหกรรมขนมไทย (มะพร้าว สับปะรด) 9) ไฟเบอร์กลาส 10) ท่องเที่ยว (ที่มา อศจ.ประจวบคีรีขันธ์) ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป เป็นลูกจ้างเอกชนสูงที่สุด 99,592 คน หรือ37.51% รองลงมาทำงานส่วนตัว 81,117 คน หรือ 30.55% และช่วยธุรกิจครัวเรือน 60,348 คน หรือ 22.73% แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 7,367 คน หรือ 2.77% โดยภาพรวมต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา 209,443 คน หรือ 78.87% เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 8,210 คน หรือ 3.09% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม มีสถานประกอบการ 105 แห่ง มีการจ้างงาน 12,979 คน ที่มา สำนักงานสถิติแห่งชาติ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

จังหวัดสมุทรสงคราม สถานศึกษา ข้อมูลพื้นฐาน ที่ตั้งที่เป็นโอกาส สังกัด สพฐ. 93 แห่ง (สปช. 83 แห่ง และ สศ. 10 แห่ง) สังกัด เอกชน 17 แห่ง สังกัด กศน. 3 แห่ง สังกัด อุดมศึกษา - แห่ง สังกัด สอศ. 3 แห่ง 1. วท.สมุทรสงคราม 2. วช.สมุทรสงคราม 3. วก.อัมพวา ที่ตั้งที่เป็นโอกาส ทิศเหนือ มีเขตติดต่อกับจังหวัดเศรษฐกิจหลักของ ภาคและประเทศไทย คือจังหวัดสมุทรสาคร ทิศใต้ติดทะเลอ่าวไทย สภาพเศรษฐกิจ รายได้เฉลี่ยต่อคน 68,445 บาท ต่อปี (อันดับ 5 ของภาค อันดับ 30 ของประเทศ) ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากภาคการขายส่ง และการขายปลีก มีมูลค่าการผลิต 24.56% รองลงมา การผลิตอุตสาหกรรม 18.69 % และภาคเกษตร 10.59% อาชีพหลักของจังหวัด เกษตรกรรม ได้แก่ การทำสวนมะพร้าว สวนผลไม้ ลิ้นจี่ ส้มโอ กล้วย ประชากร จำนวนประชากร 195,068 คน (พ.ศ.2549) สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน ข้อมูลพื้นฐาน จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 มีจำนวน 12,883 คน หรือ 9.97% จำนวนผู้ว่างงาน 803 คน เป็นชาย 553 คน เป็นหญิง 250 คน อัตราการว่างงาน 0.4% ประชาชนประกอบอาชีพผู้ปฏิบัติงานด้านความสามารถทางฝีมือและธุรกิจการค้าที่เกี่ยวข้องสูงที่สุด จำนวน 22,689 คน หรือ 21.67% ลำดับรองลงมาคือ พนักงานบริการ พนักงานร้านค้าและตลาด19,637 คน หรือ 18.76% ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ 1) การพิมพ์ซิลค์สกรีนสิ่งทอ 2) การประดิษฐ์ของขวัญที่ระลึก 3) การทำเปเปอร์มาเช่และงานเพ้นท์ 4) งานทำขนมไทย 5) การทำบัญชีจำหน่ายสินค้า 6) การพิมพ์ดีดไทย 7) การทำอาหารเฉพาะโรค (เบาหวาน) 8) การซ่อมบำรุงรถยนต์ 9) การซ่อมตู้เย็น 10) การตัดกระโปรงเบื้องต้น (ที่มา อศจ.สมุทรสงคราม) ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป เป็นลูกจ้างเอกชนสูงที่สุด 45,199 คน หรือ 43.18% ลำดับรองลงมาทำงานส่วนตัว 27,783 คน หรือ 26.54% และช่วยธุรกิจครัวเรือน 20,099 คน หรือ 19.20% แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 2,934 คน หรือ 2.80% โดยภาพรวมต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา 72,692 คน หรือ 69.44% เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 4,506 คน หรือ 4.3% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม มีสถานประกอบการ 64 แห่ง มีการจ้างงาน 4,044 คน ที่มา สำนักงานสถิติแห่งชาติ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

จังหวัดสมุทรสาคร สถานศึกษา ที่ตั้งที่เป็นโอกาส ข้อมูลพื้นฐาน สังกัด สพฐ. 119 แห่ง (สปช.107 แห่ง และสศ. 12 แห่ง) สังกัด เอกชน 44 แห่ง สังกัด กศน. 4 แห่ง สังกัด อุดมศึกษา - แห่ง สังกัด สอศ. 2 แห่ง 1. วท.สมุทรสาคร 2. วก.บ้านแพ้ว ที่ตั้งที่เป็นโอกาส เป็นจังหวัดปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร ทิศตะวันออก มีเขตติดต่อกับกรุงเทพมหานคร ทิศใต้ติดทะเลอ่าวไทย เป็นที่ตั้งของนิคมอุตสาหกรรม 2 แห่ง คือนิคมฯ สมุทรสาคร และ นิคมฯการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ สินสาคร สภาพเศรษฐกิจ รายได้เฉลี่ยต่อคน 482,544 บาท ต่อปี (อันดับ 1 ของภาค อันดับ 2 ของประเทศ) ผลผลิตที่สร้างรายได้สูงที่สุด การผลิตอุตสาหกรรม มีมูลค่าการผลิต 83.89% อาชีพหลักของจังหวัด การผลิตอุตสาหกรรม และสินค้าที่มีชื่อเสียง ได้แก่ อาหารทะเล ประชากร จำนวนประชากร 452,017 คน (พ.ศ.2549) สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน ข้อมูลพื้นฐาน จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 มีจำนวน16,066 คน หรือ 10.58% จำนวนผู้ว่างงาน 2,584 คน เป็นชาย 1,434 คน เป็นหญิง 1,149 คน อัตราการว่างงาน 0.5% ประชาชนประกอบอาชีพผู้ปฏิบัติงานโรงงานและเครื่องจักรและผู้ปฏิบัติด้านการประกอบสูงที่สุด จำนวน101,772 คน หรือ 30.66% ลำดับรองลงมาคือผู้ปฏิบัติงานด้านความสามารถทางฝีมือและธุรกิจการค้าที่เกี่ยวข้อง 63,476 คน หรือ 19.12% ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ 1) การทำผ้าบาติก 2) การร้อยลูกปัด 3) การกัดกระจก 4) การทำไวน์องุ่น 5) ซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน 6) การทำโรตี 25 รส 7) การซ่อมรถจักรยานยนต์ 8) การทำดอกไม้ประดิษฐ์ 9) การทำมุ้งลวด 10) การทำเหล็กดัด (ที่มา อศจ.สมุทรสาคร) ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป เป็นลูกจ้างเอกชนสูงที่สุด 220,094 คน หรือ 66.30% แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 18,457 คน หรือ 5.56% โดยภาพรวมต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา 238,010 คน หรือ 71.70% เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 10,413 คน หรือ 3.14% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม มีสถานประกอบการ 476 แห่ง มีการจ้างงาน 79,631 คน ลำดับรองลงมาคือ อุตสาหกรรมอาหารเครื่องดื่ม มีสถานประกอบการ 384 แห่ง มีการจ้างงาน 78,805 คน และอุตสาหกรรมโลหะ อโลหะ และผลิตภัณฑ์โลหะ มีสถานประกอบการ 1,432 แห่ง มีการจ้างงาน 55,302 คน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่มา สำนักงานสถิติแห่งชาติ