การพัฒนาโปรแกรมระบบสารสนเทศสำหรับอาจารย์ที่ปรึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศธ.02.
Advertisements

งานนำเสนองานวิจัย. เรื่อง พฤติกรรมการใช้จ่าย. ของประชาชนในเขตชุมชน
Interactive E-learning
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐาจข้อมูล
การเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของระบบบัณฑิตศึกษา 14 กุมภาพันธ์ 2550.
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements)
ระบบคลังสินค้านม Milk Warehouse System ผู้จัดทำ
โดย ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาโครงการ
COE Electronic Voting System
การปฏิบัติหน้าที่ของครูที่ปรึกษา
Graduate School Khon Kaen University
สหกิจศึกษาทางรัฐศาสตร์
อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาบาลีและสันสกฤต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Master of Arts in Pali and Sanskrit Chulalongkorn University วัตถุประสงค์
การวิเคราะห์ความต้องการด้านระบบ
ระบบข้อสอบออนไลน์.
ระบบจัดเก็บค่าน้ำประปา
Management Information Systems
แนะนำรายวิชา STC0101 หลักการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และอัลกอริทึม
การเริ่มต้นและการวางแผนโครงการ
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
กระดาษทำการของผู้สอบบัญชี มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 230
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
ผู้เชี่ยวชาญด้านโปรแกรมระบบบัญชีสหกรณ์
ตัวอย่างการประเมินฯ ของกรมสารขัณฑ์
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
1. ชื่อสถาบัน ให้ระบุชื่อ สถาบันการศึกษา คณะวิชา และภาควิชาที่เปิดสอน หลักสูตร 2. ชื่อหลักสูตร ให้ระบุชื่อ หลักสูตรและสาขาวิชาให้ ชัดเจน แบบรายงานข้อมูลการ.
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
แนะนำกรรมการ หลักสูตร แผนการเรียน กิจกรรมพิเศษ สิ่งอำนวยความสะดวก.
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
หมวดที่ 5 การวัดผลและการประเมิน
หมวดที่ 2 การลงทะเบียนเรียน
บทบาทของระบบสารสนเทศในองค์การ
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้รายวิชาภาคปฏิบัติ
การบริหารสำนักงาน ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ.
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
2.3 ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
การพัฒนาระบบสารสนเทศงานวิจัย ในคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ตัวอย่าง ระบบคลังหนังสือ (Book Stock System)
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
วิชาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา โดย นางสาวเพลินจิตร์ กันหาป้อง
วิธีดำเนินการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
ผู้วิจัย อาจารย์กัมพล ติปิน วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
งานวัดผลและเมินผล.
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช
ชื่อเรื่อง แรงจูงใจของนักศึกษาในการเลือกเรียนหลักสูตรปริญญาตรีสาขาบริหารธุรกิจบัณฑิต ผู้วิจัย นางสาวณัฐกานต์ ภูแฝก.
บทที่ 11 ระบบสารสนเทศ.
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย โดยจัดกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ ด้วยวิธี STAD ของนักเรียน 501 สาขางานการบัญชี
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
ชื่อผลงานวิจัย ความพึงพอใจต่อการใช้อาคารและสถานที่ของนักเรียน-นักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางอรอนงค์ ชูศรี
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
ชื่อผู้วิจัย ประชิด เกิดมาก
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา การวิเคราะห์ ออกแบบระบบ ปวส.2/2และปวส.2/2 พิเศษสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาโปรแกรมระบบสารสนเทศสำหรับอาจารย์ที่ปรึกษา คณะเศรษฐศาสตร์ และบริหารธุรกิจ วิทยาลัยโยนก จังหวัดลำปาง ...โดย... นางสาวทรรศนีย์ ไชยชนะ …เสนอ... ผศ.วิไลภรณ์ ลือชารัศมี , ผศ.มนพ ลือชารัศมี และ ดร.เสมอแข สมหอม

ระบบอาจารย์ที่ปรึกษาคณะเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ วิทยาลัยโยนก บทนำ วัตถุประสงค์ ขอบเขตงาน ประโยชน์ ผังกระแสการไหลของข้อมูล

บทนำ ความหมายของอาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ที่ปรึกษา หรือ Adviser เป็นบุคคลที่สถาบันแต่งตั้งให้อาจารย์เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์เป็นได้ทันทีและเต็มตัว อาจจะไม่มีความรู้ทางด้านการแนะแนวการให้คำปรึกษา แต่มีความรู้สึกที่รักและอยากช่วยเหลือคนที่มีทุกข์ ทางสถาบันเห็นก็แต่งตั้งอาจารย์หรือให้มาช่วยทางด้านต่างๆ

ระบบอาจารย์ที่ปรึกษาคณะเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ วิทยาลัยโยนก ประกอบไปด้วยสาขาวิชาการบัญชี, สาขาวิชาการตลาด, สาขาวิชาการจัดการ, สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ และสาขาเศรษฐศาสตร์ มีนักศึกษาประมาณ 800 คน ประกอบด้วยนักศึกษาที่เรียนหลักสูตร 4 ปี และหลักสูตรต่อเนื่อง 2 ปี มีอาจารย์ประจำคณะฯ 45 ท่าน ลักษณะงาน การเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาในการลงทะเบียนให้กับนักศึกษา และการเป็นที่ปรึกษาเกี่ยวกับเรื่องอื่น ๆ ของนักศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษาหนึ่งท่านจะดูแลนักศึกษาประมาณ 20 คน มีทั้งนักศึกษาที่ยังไม่ได้เลือกสาขาและนักศึกษาที่เลือกสาขาเป็นที่เรียบร้อยแล้ว มีทั้งนักศึกษาหลักสูตร 4 ปี และหลักสูตรต่อเนื่อง 2 ปี

ปัญหา ในการลงทะเบียนแต่ละครั้งอาจารย์ที่ปรึกษาจะมีข้อมูลนักศึกษา, เอกสารรายวิชาที่เปิดสอนและคู่มือการศึกษา ในส่วนของข้อมูลนักศึกษาอาจารย์ที่ปรึกษาจะมีเฉพาะ รหัส, ชื่อ-สกุล เท่านั้น จากสภาพดังกว่าง อาจารย์ที่ปรึกษายังขาดข้อมูลเกี่ยวกับรายละเอียดในส่วนต่าง ๆ ของนักศึกษาที่รับผิดชอบ และข้อมูลเกี่ยวกับวิชาที่นักศึกษาเคยลงทะเบียนเรียนและผลการเรียนของนักศึกษา และอาจารย์ที่ปรึกษาบางท่านไม่ทราบโครงสร้างหลักสูตรของคณะฯ ที่ชัดเจน ซึ่งมีผลต่อนักศึกษาในการลงทะเบียนในวิชาที่เหลือ อาจเกิดความผิดพลาดในกรณีที่ไม่ได้ลงเรียนบางวิชา ซึ่งเป็นวิชาบังคับในหลักสูตรทำ ประกอบกับอาจารย์ที่ปรึกษาไม่มีข้อมูลในเรื่องของการลงทะเบียนของนักศึกษาในภาคเรียนปัจจุบัน

วัตถุประสงค์ของการศึกษา พัฒนาระบบสารสนเทศ สำหรับอาจารย์ที่ปรึกษาคณะเศรษฐศาสตร์และบริหาร ธุรกิจ ของวิทยาลัยโยนก จังหวัดลำปาง

ขอบเขตและวิธีการศึกษา 1. การจัดทำระบบสำหรับการรักษาความปลอดภัย ในการกำหนดสิทธิ์การเข้า ถึงข้อมูลของผู้ใช้โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มผู้ใช้ระบบ (อาจารย์ที่ปรึกษา) และกลุ่มผู้ดูแลระบบ 2. การจัดทำระบบเกี่ยวกับระเบียนนักศึกษา เพื่อทำให้อาจารย์ที่ปรึกษาทราบ ข้อมูลเกี่ยวกับ ที่อยู่ปัจจุบัน ประวัติการศึกษา รวมถึงกิจกรรมที่นักศึกษาเคย ปฏิบัติ 3. การจัดทำระบบเกี่ยวกับการแสดงผลการเรียน และวิชาที่เคยลงทะเบียนใน แต่ละภาคเรียนการศึกษาที่ผ่านมา 4. การจัดทำระบบเกี่ยวกับโครงสร้างหลักสูตรของคณะเศรษฐศาสตร์และ บริหารธุรกิจ เพื่อทำให้อาจารย์ที่ปรึกษาสามารถตรวจสอบวิชาที่คงเหลือของนักศึกษาได้

ขอบเขตและวิธีการศึกษา 5. การจัดทำระบบเกี่ยวกับการคำนวณผลการเรียนล่วงหน้า เพื่อหาคะแนน เฉลี่ยสะสม (CGPA) ที่คาดว่านักศึกษาจะได้รับ เพื่อนำไปใช้ในการวางแผนในภาคการ ศึกษาต่อไป (กรณีที่นักศึกษามีผลการเรียนต่ำ) 6. การจัดทำระบบเกี่ยวกับการให้คำปรึกษา เพื่อให้อาจารย์ที่ปรึกษาสามารถบันทึกการให้คำ- ให้คำปรึกษาแต่ละครั้ง และสามารถเรียกดูข้อมูลเดิมก่อนการให้คำปรึกษาครั้งต่อไป 7. การจัดทำระบบสำหรับรายงานข้อมูล 8. การจัดทำระบบสำหรับการค้นหาข้อมูล 9. การจัดทำระบบสำหรับการ เพิ่ม ลบ ปรับปรุงข้อมูล

ประโยชน์ที่จะได้รับ 1. ได้ระบบสารสนเทศสำหรับอาจารย์ที่ปรึกษาคณะเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ 2. เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ ในการวางแผนและการตัดสินใจสำหรับอาจารย์ที่ปรึกษา 3. ก่อให้เกิดการประสานงานระหว่างอาจารย์ที่ปรึกษา และสำนักทะเบียนและประมวลผล

CONTEXT DIAGRAM

DATA FLOW DIAGRAM LEVEL 0