ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยาอุตสาหกรรม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์
Advertisements

ความสำคัญของการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี
หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 25..
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับนวัตกรรมการศึกษา
วิชา ศ. 478 เศรษฐศาสตร์พลังงาน
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายการฝึกอบรม
บทที่ 2 แนวคิดและความสำคัญของงานการขาย
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตลาด
การบรรยายหัวข้อ เทคนิคการควบคุมงานก่อสร้าง
จากหิ้งสู่ห้าง การใช้ประโยชน์จากงานวิจัยพัฒนา
วิชา การจัดการข้อมูล (Data Management) 3(2-2-5) บทที่ 3
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม (Social Change)
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
ผลิตสินค้าและบริการ.
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
Business Administration THONBURI UNIVERSITY
MARKETING A.Suchada Hommanee.
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
BA 925 การบริหารกลยุทธ์ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551
The Nature of technology
ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษากับการเรียนรู้ตลอดชีวิต
เศรษฐกิจบนพื้นฐานความคิดสร้างสรรค์ (Creative Economy)
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิชา เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น Introduction to Economics Lecturer : Orasa Tuntiyawongsa Faculty of Applied Arts. KMITNB
กรอบแนวความคิดที่ 1 (First Paradigm)
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
เป้าหมายของหลักสูตร/ การเรียนการสอน วิทยาศาสตร์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การศึกษาความพร้อมในการใช้การจัดการโซ่อุปทานในอุตสาหกรรมเสื้อผ้าสำเร็จรูป จัดทำโดย นางสาววราพร วิริยะไชยกุล ปริญญาเศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต.
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
จิตวิทยากับองค์กรธุรกิจอุตสาหกรรม
ขวัญในงานธุรกิจอุตสาหกรรม
บทเรียนการเป็นผู้นำนวัตกรรมเทคโนโลยีที่พ่ายแพ้
ความรู้เบื้องต้นในการวินิจฉัยธุรกิจ
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
การค้ามนุษย์.
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)
การจัดประชุมเฉพาะกลุ่มที่ เกี่ยวข้องโดยตรง Focus Group 1st ปัญหา อุปสรรค และกลยุทธ์ ส่งเสริมงานวิจัยด้าน ICT ไทย “ โครงการส่งเสริมงานวิจัยและ พัฒนาเพื่อเสริมสร้างความ.
การจัดประชุมเฉพาะกลุ่มที่ เกี่ยวข้องโดยตรง Focus Group 3rd ปัญหา อุปสรรค แนวโน้มของ อุตสาหกรรม ICT ไทย “ โครงการส่งเสริมงานวิจัยและ พัฒนาเพื่อเสริมสร้างความ.
การจัดประชุมเฉพาะกลุ่มที่ เกี่ยวข้องโดยตรง Focus Group 4 th กลยุทธ์การส่งเสริมและพัฒนา เสริมสร้างศักยภาพอุตสาหกรรม ICT ไทย “ โครงการส่งเสริมงานวิจัยและ.
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
สภาพทางเศรษฐกิจ ใน ยุโรป.
ขอต้อนรับทุก ท่าน WELCOME ! No 1. การบรรยายความรู้ มุมมองใหม่ กับการทำงานส่งเสริมเคหกิจ เกษตร วันพุธที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ระหว่างเวลา ๑๕. ๐๐ – ๑๖. ๐๐ น.
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
ฐานข้อมูล Data Base.
การนิเทศภายในของวิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
กระบวนการทางเศรษฐกิจ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
ทฤษฎี และหลักการพัฒนาชุมชน
นาสาวกนกรดา นิ่มละมูล การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื่อง ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ วิชาการใช้ คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ.
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
บทที่ 2 หลักการดำเนินงานอุตสาหกรรมเกษตร
บทที่ 4 เทคโนโลยี.
บทบาทของข้อมูลการตลาด
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
พฤติกรรมผู้บริโภค (CONSUMER BEHAVIOR)
ด. ช. อติชาต ปันเต ม.1/12 เลขที่ 4 ด. ช. ณปภัช เรือนมูล ม.1/12 เลขที่ 5.
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย
ครูจงกล กลาง ชล 1. ผลการเรียนรู้ที่ คาดหวัง อธิบายกิจกรรมการผลิต ของมนุษย์ขั้นทุติยภูมิได้ 2.
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
หน้าที่ 1 วิสัยทัศน์ สถาบันอุดมศึกษาด้าน สุขภาพชั้นนำของอาเซียน ที่เน้นชุมชน แผนกลยุทธ์สถาบันพระบรมราชชนก ประจำปี 2553.
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
จัดทำโดย ด. ช. สินชัย พรมสินชัย เลขที่ 3 ม.1/2 ด. ญ. ภาณุมาศ ไชยวงค์ เลขที่ 14 ม.1/2.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยาอุตสาหกรรม บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยาอุตสาหกรรม

ความหมาย จิตวิทยา = การศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ จิตวิทยา = การศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ อุตสาหกรรม = การผลิต การจำหน่าย การบริการ การใช้สินค้า การบริหารงานบุคลากร ฯ จิตวิทยา + อุตสาหกรรม = การศึกษาพฤติกรรมมนุษย์โดยการ หาข้อมูลในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงาน อุตสาหกรรม

วิวัฒนาการของจิตวิทยาอุตสาหกรรม ค.ศ.1704 (Bryan) งานวิจัย “การพัฒนาทักษะของนักโทรเลขในการส่งข่าวสาร” ค.ศ.1813 (Robert Owen) หนังสือ “ทักษะใหม่ของสังคม” ค.ศ.1832 (Charles Babbage) หนังสือ “เศรษฐกิจของเครื่องจักร และผู้ผลิต” ค.ศ.1903 (Walter Dill Scott) หนังสือ “ทฤษฎีการโฆษณา (The Theory of Advertising) ” ค.ศ.1913 (Hugo Munsterberg) หนังสือ “จิตวิทยาและประสิทธิภาพของอุตสาห กรรม (Psychology and industrial Efficiency)

การปฏิวัติอุตสาหกรรม (Industrial Revolution) เป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างใหญ่หลวงในบริเตนใหญ่ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยมีจุดเริ่มจากเทคโนโลยีเครื่องจักรไอน้ำ (ใช้ถ่านหินเป็นเชื้อเพลิงหลัก) ทำงานด้วยเครื่องจักรอัตโนมัติ (โดยเฉพาะอุตสาหกรรมสิ่งทอ) ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและเศรษฐกิจถูกผลักดันด้วยการสร้างเรือ เรือกำปั่น และทางรถไฟ ที่อาศัยเครื่องจักรไอน้ำ ความเจริญก้าวหน้าแผ่ขยายไปสู่ยุโรปตะวันตกและทวีปอเมริกาเหนือ และส่งผลกระทบทั่วโลกในที่สุด http://th.wikipedia.org/wiki

เครื่องจักรไอน้ำของเจมส์ วัตต์ จุดเริ่มต้นการปฏิวัติอุตสาหกรรม โรงงานปั่นด้ายในยุคปฏิวัติอุสาหกรรม

สงครามโลกครั้งที่ 1 ช่วง ค.ศ. 1914 - 1918 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2457 – 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2461

หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 (Robert Yerkes) แบบทดสอบ Army Alpha, Army Beta (Group Testing) ค.ศ.1927 การศึกษาวิจัย “กรณีศึกษาของฮอร์ทอร์น” ค.ศ.1950 หนังสือ “Industrial and Organization Psychology)” พ.ศ.2500 - 2502 (สมาคมจิตวิทยาแห่งประเทศไทย) ประชุมใหญ่ พ.ศ.2507 เริ่มมีการสอนจิตวิทยาอุตสาหกรรมในสถาบัน อุดมศึกษาไทย

ขอบข่ายของจิตวิทยาอุตสาหกรรม 1. สภาพแวดล้อมต่างๆ ทางธุรกิจ 2. สถานการณ์ที่มีอิทธิพลเกี่ยวข้อง สาขาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์กร 1. พฤติกรรมองค์กร 2. จิตวิทยาบุคคล 3. จิตวิทยาวิศวกรรม 4. การพัฒนาองค์กร 5. การให้คำปรึกษาอาชีพ 6. แรงงานสัมพันธ์

ลักษณะอาชีพของนักจิตวิทยาอุตสาหกรรม 1. เป็นลูกจ้างขององค์กรอุตสาหกรรม 2. เป็นองค์กรให้คำปรึกษา 3. เป็นอาจารย์ในมหาวิทยาลัย ข้อจำกัดของนักจิตวิทยาอุตสาหกรรม 1. สถานะของนักจิตวิทยาอุตสาหกรรม 2. ปัญหาการสื่อสาร 3. การขัดขวางการเปลี่ยนแปลง