ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยาอุตสาหกรรม บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยาอุตสาหกรรม
ความหมาย จิตวิทยา = การศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ จิตวิทยา = การศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ อุตสาหกรรม = การผลิต การจำหน่าย การบริการ การใช้สินค้า การบริหารงานบุคลากร ฯ จิตวิทยา + อุตสาหกรรม = การศึกษาพฤติกรรมมนุษย์โดยการ หาข้อมูลในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงาน อุตสาหกรรม
วิวัฒนาการของจิตวิทยาอุตสาหกรรม ค.ศ.1704 (Bryan) งานวิจัย “การพัฒนาทักษะของนักโทรเลขในการส่งข่าวสาร” ค.ศ.1813 (Robert Owen) หนังสือ “ทักษะใหม่ของสังคม” ค.ศ.1832 (Charles Babbage) หนังสือ “เศรษฐกิจของเครื่องจักร และผู้ผลิต” ค.ศ.1903 (Walter Dill Scott) หนังสือ “ทฤษฎีการโฆษณา (The Theory of Advertising) ” ค.ศ.1913 (Hugo Munsterberg) หนังสือ “จิตวิทยาและประสิทธิภาพของอุตสาห กรรม (Psychology and industrial Efficiency)
การปฏิวัติอุตสาหกรรม (Industrial Revolution) เป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างใหญ่หลวงในบริเตนใหญ่ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยมีจุดเริ่มจากเทคโนโลยีเครื่องจักรไอน้ำ (ใช้ถ่านหินเป็นเชื้อเพลิงหลัก) ทำงานด้วยเครื่องจักรอัตโนมัติ (โดยเฉพาะอุตสาหกรรมสิ่งทอ) ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและเศรษฐกิจถูกผลักดันด้วยการสร้างเรือ เรือกำปั่น และทางรถไฟ ที่อาศัยเครื่องจักรไอน้ำ ความเจริญก้าวหน้าแผ่ขยายไปสู่ยุโรปตะวันตกและทวีปอเมริกาเหนือ และส่งผลกระทบทั่วโลกในที่สุด http://th.wikipedia.org/wiki
เครื่องจักรไอน้ำของเจมส์ วัตต์ จุดเริ่มต้นการปฏิวัติอุตสาหกรรม โรงงานปั่นด้ายในยุคปฏิวัติอุสาหกรรม
สงครามโลกครั้งที่ 1 ช่วง ค.ศ. 1914 - 1918 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2457 – 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2461
หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 (Robert Yerkes) แบบทดสอบ Army Alpha, Army Beta (Group Testing) ค.ศ.1927 การศึกษาวิจัย “กรณีศึกษาของฮอร์ทอร์น” ค.ศ.1950 หนังสือ “Industrial and Organization Psychology)” พ.ศ.2500 - 2502 (สมาคมจิตวิทยาแห่งประเทศไทย) ประชุมใหญ่ พ.ศ.2507 เริ่มมีการสอนจิตวิทยาอุตสาหกรรมในสถาบัน อุดมศึกษาไทย
ขอบข่ายของจิตวิทยาอุตสาหกรรม 1. สภาพแวดล้อมต่างๆ ทางธุรกิจ 2. สถานการณ์ที่มีอิทธิพลเกี่ยวข้อง สาขาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์กร 1. พฤติกรรมองค์กร 2. จิตวิทยาบุคคล 3. จิตวิทยาวิศวกรรม 4. การพัฒนาองค์กร 5. การให้คำปรึกษาอาชีพ 6. แรงงานสัมพันธ์
ลักษณะอาชีพของนักจิตวิทยาอุตสาหกรรม 1. เป็นลูกจ้างขององค์กรอุตสาหกรรม 2. เป็นองค์กรให้คำปรึกษา 3. เป็นอาจารย์ในมหาวิทยาลัย ข้อจำกัดของนักจิตวิทยาอุตสาหกรรม 1. สถานะของนักจิตวิทยาอุตสาหกรรม 2. ปัญหาการสื่อสาร 3. การขัดขวางการเปลี่ยนแปลง