๓ สถาบันทางสังคม (Social Institution)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รัฐในเศรษฐศาสตร์สถาบัน
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
บทเรียนโปรแกรม Power Point
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
หน้าที่ของผู้บริหาร.
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
กรอบแนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน
การขัดเกลาทางสังคม (socialization)
เนื้อหา (กลางภาค) พฤติกรรมมนุษย์ การขัดเกลาทางสังคม
Strategic Management ผศ.กันธิชา ทองพูล.
บทที่ 6 ค่านิยมในสังคมไทย
โครงสร้างสังคมไทย โครงสร้างสังคม หมายถึง ความสัมพันธ์ของกลุ่มคนที่มีบรรทัดฐานของสังคมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวให้คนมาอยู่รวมกันเป็นสังคม อย่างสันติสุข.
ชีวิตและวัฒนธรรมไทย
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
สถาบันการศึกษา.
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
การบริหารการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมแบบผสมผสาน
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
ลานวัฒนธรรมพื้นบ้านอีสาน สร้างอาชีพ
การจัดการตลาด ความหมายการจัดการตลาด กระบวนการการจัดการตลาด
มนุษย์จะได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ ก็เพราะการรู้จักเลือกประกอบกิจกรรมนันทนาการ สรุปเนื้อหาสาระจาก นันทนาการและการจัดการ พีระพงศ์ บุญศิริ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
พัฒนาการความสัมพันธ์จากครอบครัวสู่รัฐ
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
บทที่ 5 นโยบายต่างประเทศ
ในฐานะสื่อกลางของความคิด
สถาบันวิชาชีพครู และองค์กรวิชาชีพครู
บทบาทของชุมชนต่อโรงเรียน
สถาบันการศึกษากับสถาบันอื่นๆในสังคม
การปฏิรูปการส่งเสริม และการจัดการศึกษาตลอดชีวิต
ระบบความเชื่อ.
มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ อาจารย์จิตรลดา วัฒนาพรรณกิตติ
การจูงใจ (Motivation)
การพิทักษ์คุณธรรม ในการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
สถานี รู้เรา รู้เขา. ๑ เรียนรู้สถานการณ์ ปัญหาอนามัย การเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น ๒ แนวทางอนามัยการ เจริญพันธุ์ใน วัยรุ่น ๓ ความรู้และทักษะที่วัยรุ่น ความ.
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
ของฝากจากอาจารย์อ้อชุดที่28
ของฝากจากอาจารย์อ้อ ชุดที่ 30
กรอบทิศทางการพัฒนา เด็กและเยาวชน
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
ความเข้าใจมนุษย์ในสังคม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 งานธุรกิจ และการประกอบอาชีพ
ขอต้อนรับทุก ท่าน WELCOME ! No 1. การบรรยายความรู้ มุมมองใหม่ กับการทำงานส่งเสริมเคหกิจ เกษตร วันพุธที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ระหว่างเวลา ๑๕. ๐๐ – ๑๖. ๐๐ น.
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
ความยากจนกับสังคมไทย ปัญหาและทางออก
จัดการความรู้เรื่องอะไร ? มีองค์กรใดบ้างที่ตั้งแต่ทำงานมา ไม่ได้ใช้ความรู้ อะไรเลย ? หรือ มีองค์กรใดบ้างที่ไม่เคยรู้ว่ามี ความรู้อะไรบ้างที่จำเป็นสำหรับการทำงานใน.
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
กรอบในการวิเคราะห์ ผลกระทบจากโครงการ พัฒนาของรัฐ.
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
วิชา หน้าที่พลเมืองฯ ม.1
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
บทที่ 5 การตัดสินใจเชิงจริยธรรมในธุรกิจ
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (R2R)
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
นายวิฑูรย์ พิริยะอนันต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

๓ สถาบันทางสังคม (Social Institution) ดำรงสังคม ความสำคัญของสถาบัน ความจำเป็น มนุษย์ ปัญหา ยอมรับปฏิบัติ จัดระเบียบ ค่านิยมร่วมกัน ยอมรับเป็นทางการ สถาบันสังคมสถาบัน ก.สถาบัน ข.สถาบัน ค.สถาบัน ฯลฯ คงทนถาวร พอควร

สร้างแบบแผนวิธีปฏิบัติ ที่มาของสถาบันทางสังคม 2 1 มี Value ร่วมกัน Needs มนุษย์ ความรัก ความอบอุ่น ความปลอดภัย ปัจจัย 4 ความคิด ความเชื่อ เจตคติ หาวิธีการสนอง Needs สร้างแบบแผนวิธีปฏิบัติ บรรทัดฐาน สถาบัน ดำรงสังคม ดี-มีสุข

สถาบันคืออะไร 1.รูปธรรม นามธรรม สถาบันคืออะไร 1.รูปธรรม : มนุษย์รวมกันเป็นกลุ่ม จัดระเบียบ แบบแผน ควบคุม การดำเนินงานที่มีวัตถุประสงค์ซึ่งสังคมยอมรับ สถาบัน เช่น องค์กร หรือสมาคม (มหาวิทยาลัย บริษัท สโมสร รพ. พรรคการเมือง ฯลฯ อาจหมายถึง หน่วยงานที่มีสำนักงาน)

2. นามธรรม : แบบอย่างพฤติกรรม (Pattern of Behavior) ที่เป็นมาตรฐาน มีหลักเกณฑ์ ระเบียบแบบแผนกำหนดไว้ชัดเจนแน่นอน คนในสังคมยอมรับเป็นแนวปฏิบัติร่วมกัน พฤติกรรมนั้นต้องมั่นคงถาวรพอ ยากต่อการเปลี่ยนแปลง

ลักษณะสำคัญของสถาบัน 1. มีกลุ่มคนดำเนินงานอย่างมีจุดมุ่งหมายเฉพาะ 2. มีระเบียบแบบแผนในการดำเนินงาน 3. มีสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรม 4. มีความจำเป็นต่อสังคม และสำคัญต่อบุคคล

5. คนในสังคมพอใจ และยอมรับปฏิบัติตาม 6. คนร่วมกันปฏิบัติอย่างเป็นทางการและรักษารูปแบบ Ins 7. จะคงอยู่อย่างมั่นคง 8. จะเปลี่ยนแปลงภายในตลอดเวลา เพื่อให้เข้ากับ Soc. ขณะนั้น ๆ แต่สถาบันยังคงอยู่

หน้าที่ของสถาบัน นัก Socio. จะมอง 2 แบบ 1. หน้าที่ที่ปรากฏชัด : หน้าที่ที่ตั้งใจ+ เป็นที่ยอมรับ 2. หน้าที่แฝง : ไม่ได้ตั้งใจ บางทีไม่ได้รับการ ยอมรับ

สถาบันทหาร สถาบันเศรษฐกิจ 1. ต่อสู้เพื่อชาติ + เป็นเครื่องมือสนับสนุนนโยบายต่างประเทศ 2. ให้การศึกษาแก่เยาวชน+งาน+ประโยชน์อื่น ๆ +วิจัยทางวิทย์ สถาบันเศรษฐกิจ 1. จัดสรรทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ 2. ส่งเสริมให้เกิดสมาคมแรงงานต่าง ๆ มากมาย

สถาบันสาธารณสุข สถาบันศาสนา 1. ลดความเจ็บป่วย-การตาย-ทุกข์ยาก 2. ประชากรมาก-อัตราการเกิดสูง สถาบันศาสนา 1. สอนคนเป็นคนดี มีศีลธรรม สืบทอดศาสนา 2. ชักจูงคนนับถือ สอนหนังสือ สอนอาชีพ

หน้าที่สถาบันสังคม 1. สนองความต้องการจำเป็นขั้นมูลฐานของ Soc 2. กำหนดรูปแบบพฤติกรรม Soc. ตามที่ Soc. ต้องการ 3. ควบคุมรูปแบบพฤติกรรม Soc. นั้น ๆ เอาไว้ 4. รักษา สืบต่อ + ถ่ายทอดทางวัฒนธรรม

สถาบันสังคมเป็นผลผลิตของสังคม ที่ไม่ได้มีการวางแผนไว้ก่อน พัฒนาการของสถาบัน ลองผิดลองถูก ปัญหา -Need -Value มนุษย์ รูปแบบพฤติกรรม มาตรฐาน สถาบัน สถาบันสังคมเป็นผลผลิตของสังคม ที่ไม่ได้มีการวางแผนไว้ก่อน

การรวมตัวแบบดั้งเดิม (Primitive Fusion) แบ่งงานกันอย่างมีแบบแผน ล่าสัตว์ เพาะปลูกพืช สร้างที่อยู่อาศัย ให้การเรียนรู้ทาง Soc. หาเลี้ยงชีพ ครอบครัวขยาย รักษาระเบียบ ในสังคมดั้งเดิมมีสถาบันที่สำคัญเพียงสถาบันเดียว คือสถาบันครอบครัว ซึ่งจะรวมสถาบันสังคมทั้งหมดเอาไว้ ควบคุม วัฒนธรรมประเพณี

ประชากรเพิ่มมากขึ้น สังคมขยายตัว ชีวิตยุ่งยาก แบ่งงาน สลาย เสียอำนาจ สลาย ครอบครัวขยาย เลือกทำกิจกรรม

ไม่มีแบบแผน มีแบบแผนสูงขึ้น ประชากรมีปฏิสัมพันธ์กับกลุ่มอื่น แลกเปลี่ยนสินค้า พึ่งพาอาศัยกัน ความคิด ความเชื่อ ค่านิยม มีอิทธิพลต่อกัน ระเบียบศาสนา การศึกษา การปกครอง ฯลฯ ปฏิสัมพันธ์ สถาบันจะพัฒนาจาก ไม่มีแบบแผน มีแบบแผนสูงขึ้น ควบคุม ยุทธวิธี

ประเภทของสถาบัน 1. สถาบันครอบครัวและการสมรส (Family and Marriage Institutions) 2. สถาบันศาสนา (Religious Ins.) 3. สถาบันการศึกษา (Educational Ins.) 4. สถาบันนันทนาการ(Recreation Ins.) 5. สถาบันเศรษฐกิจ (Economic Ins.) 6. สถาบันการเมือง (Political Ins.)