Chapter 2 การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การวางแผนกำหนดกลยุทธ์ทางการตลาด
Advertisements

Chapter 1 การตลาดในศตวรรษที่ 21 อ.ปั้น จูฑศฤงค์.
‘คน’ และ ‘คน’ มีดีไซน์ ‘สังเกต’ แทรกดีไซน์ R&D มี ‘ ดีไซน์’
School of Business Administration BANGKOK UNIVERSITY
กรอบแนวทางการทำงาน Dummy Project
ขอบเขตงานกลุ่ม ที่ต้องทำส่ง 21 กพ 2557
บทที่ 4 การวางแผนกลยุทธ์ธุรกิจออนไลน์
รหัส หลักการตลาด.
ตัวอย่าง SWOT Analysis
Product and Price ครั้งที่ 8.
จากหิ้งสู่ห้าง การใช้ประโยชน์จากงานวิจัยพัฒนา
Lesson 2 Strategic Planning and The marketing Process &Market Segmentation,Targeting, and Positioning for Competitive Advantage.
บทที่ 4 การแปรรูป และการผลิตสินค้าอาหาร
สภาพแวดล้อมทางธุรกิจและการจัดการ
ระบบการบริหารการตลาด
MK201 Principles of Marketing
การเสวนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์เรื่อง การจัดทำแผนกลยุทธ์ทางการเงิน
บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร
การวางแผนกลยุทธ์.
การแบ่งส่วนตลาด การกำหนดตลาดเป้าหมาย และการวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ และสาเหตุที่ทำให้ผลิตภัณฑ์ใหม่ล้มเหลว
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
การจัดการระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 8 การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-commerce)
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
Business Information System ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
การจัดการตลาด ความหมายการจัดการตลาด กระบวนการการจัดการตลาด
สารบัญ คำนำ หน้า บทสรุปผู้บริหาร วิสัยทัศน์&ภารกิจ
บทที่7 ช่องว่างองค์กร 12/9/05 ช่องว่างองค์กร.
Economic Institute เพื่อสนองความต้องการของตนเองทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ กระบวนการการแสวงหาอาหาร การผลิตอาหาร การบริโภคต่างๆ.
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
กระบวนการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและการวางแผน
บทเรียนการเป็นผู้นำนวัตกรรมเทคโนโลยีที่พ่ายแพ้
ขับเคลื่อนนวัตกรรม ด้วยการเข้าใจตลาดและผู้ใช้
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
Computer Application in Customer Relationship Management
หัวข้อ 3.1 ความรู้เกี่ยวกับลูกค้าและตลาด
หัวข้อวิชา การเพิ่มศักยภาพในการเป็นผู้นำ และการนำเสนอข้อมูล
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
Functional Level Strategy
Business Level Strategy กลยุทธ์ระดับธุรกิจ
การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์
เอกสารเรียนการบริหารการผลิตวันที่ 18 พ.ย.54
การบริหารและกระบวนการวางแผน
แนวคิดเครือข่ายและการประยุกต์ใช้ทางธุรกิจ
เอกสารเรียนการบริหารการผลิตวันที่ 21 มิ.ย.54
บทที่ 13 การบริการลูกค้าในการค้าปลีก
ระบบสารสนเทศทางการตลาดและความสำคัญ
กลุ่มที่ 4.
กลยุทธ์ = การพัฒนา + การ ขยายธุรกิจ เรารู้จักตัวเรามากน้อยแค่ใหน ? สินค้าเรา กลุ่มใหน ? เกรดใหน ? ขนาดใหน ? ตลาดคืออะไร ? ตลาดของเราอยู่ที่ใหน ? แบบใหน.
แผนธุรกิจ บริษัท มนทิพ 1991จำกัด
บทบาทของข้อมูลการตลาด
การเป็นเจ้าของธุรกิจ  ไม่เซ๊กซี่ เหมือนที่คิด  คนที่จะเป็นได้ต้อง มีความหลงไหลในโครงการที่ทำ กระหาย ที่จะเป็นเจ้าของธุรกิจ ชอบคิดใหม่ ทำใหม่ มีปัญญา.
หน่วยที่ 3 ประเภทแหล่งข้อมูลทางการตลาด
แผนธุรกิจ (Business Plan)
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
บทที่ 4 กลยุทธ์การค้าปลีก
บทที่ 5 การสร้างโอกาสทางธุรกิจ
ความสำคัญและประโยชน์ ของการวิจัยการตลาด
บทที่1 การบริหารการผลิต
บทที่ 3 การตลาด ความหมายของการตลาด
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
การเริ่มต้นธุรกิจ SMEs
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
บทที่ 3 การจัดการตราผลิตภัณฑ์ คุณค่าของตรา และตำแหน่งผลิตภัณฑ์
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Chapter 2 การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ ความคิดธุรกิจใหม่ การประเมินธุรกิจ การศึกษาความเป็นไปได้ทางด้านเทคนิค (สินค้าและบริการ) การศึกษาความเป็นไปได้ทางด้านการตลาด (โอกาสและความเสี่ยง)

Chapter 2 การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ ความคิดธุรกิจใหม่ การประเมินธุรกิจ การศึกษาความเป็นไปได้ทางด้านการเงิน (สถานะทางการเงิน) การศึกษาความเป็นไปได้ทางด้านองค์กร (ความสามารถและทีมงาน) การศึกษาความได้เปรียบในการแข่งขัน (ความได้เปรียบเสียเปรียบ)

การศึกษาความเป็นไปได้ แนวคิดธุรกิจทำได้หรือไม่ ลูกค้าคือใคร เข้าถึงลูกค้าได้อย่างไร จะให้อะไรแก่ลูกค้า ความพร้อมกับความเสี่ยง ตลาด ช่องทางเข้าสู่ตลาด คุณค่าต่อลูกค้า การเงิน ผลิตภัณฑ์จะอยู่ในตลาดได้นานแค่ไหน ต้นทุนการผลิตเริ่มต้นเท่าไร ต้นทุนการตลาดเริ่มต้นเหมาะสมหรือไม่

การศึกษาความเป็นไปได้ (ต่อ) ระยะเวลาเข้าตลาดเหมาะสมหรือไม่ ขนาดตลาดใหญ่พอหรือไม่ สินค้ามีกำไรหรือไม่ มีกลุ่มลูกค้ารายแรกหรือไม่ การพัฒนาสินค้าทันเวลาหรือไม่ ธุรกิจอยู่ในอุตสาหกรรมกำลังโตหรือไม่ สถาบันการเงินยอมรับธุรกิจนี้หรือไม่

การประเมินโอกาส ขั้นตอนที่ 1 ประเมินว่าธุรกิจนั้นมีความน่าสนใจมากน้อยแค่ไหน (ขนาดตลาด อัตราการเติบโต การแข่งขันในตลาด ความเสี่ยง โอกาสที่จะสร้างอุตสาหกรรมใหม่ การตอบรับของสังคม) ขนาดตลาดของนมเปรี้ยว 8,460 ล้านบาท แบ่งเป็น นมเปรี้ยวผสมแลคโตบาซิลลัส นมเปรี้ยวยูเอชที โยเกิร์ต นมเปรี้ยวพาสเจอร์ไรซ์ โยเกิร์ต เดิมเติบโต 10% ปัจจุบันแค่ 5% เจ้าตลาดคือดัชมิลล์ เมจิ โฟร์โมสต์

การประเมินโอกาส (ต่อ) ขั้นตอนที่ 2 ประเมินว่าธุรกิจนั้นเหมาะสมกับความ ถนัดแค่ไหน (กำลังทุนทรัพย์ ความสามารถทางการตลาด การผลิต เทคโนโลยี การจัดหาทรัพยากรการผลิต การบริหาร) ขั้นตอนที่ 3 ประเมินว่าอัตราการทำให้สำเร็จมีมากน้อยแค่ไหน

5 Forces Model การวิเคราะห์ความน่าสนใจของอุตสาหกรรมด้วยโมเดลแรงกดดัน 5 ประการ 1.ความยากง่ายในการเข้าสู่อุตสาหกรรม (Barrier to Entry) 2.ความรุนแรงของการแข่งขัน (Intensity of Rivalry) 3.อำนาจต่อรองของซัพพลายเออร์ (Bargaining power of Supplier) 4.อำนาจต่อรองของลูกค้า (Bargaining power of Buyer) 5.สินค้าทดแทน (Substitute Product)

โมเดลแรงกดดัน 5 ประการ (The five forces model for competition) 1.คู่แข่งขันที่เข้ามาใหม่ 5. ความรุนแรงของการแข่งขัน 2. Suppliers 3. Buyers 4. ผลิตภัณฑ์ที่ทดแทนกันได้

การประเมินโอกาส ผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จ รู้จักตนเอง เข้าใจจุดอ่อนจุดแข็ง ความต้องการของตนเอง รักสินค้าและอาชีพที่จะสร้างคุณค่าให้กับลูกค้าและสังคม เคารพ ซื่อสัตย์ และใส่ใจในตัวลูกค้า รู้จักวิธีปฏิบัติกับลูกน้องได้ดี เชื่อถือได้

การสร้างโมเดลธุรกิจ การพัฒนาโมเดลธุรกิจ การเลือกลูกค้า (Customer Selection) การสร้างคุณค่าและได้รับกำไร (Value Capture) หนีคู่แข่ง (Strategic Control) การออกแบบธุรกิจ (Business Design & Scope)

วิธีการสร้างกำไร “ในปัจจุบันไม่พอที่จะเห็นเพียงโอกาสทางธุรกิจ แต่จำเป็นจะต้องรู้ว่ากำไรของธุรกิจอยู่ที่ไหน และจะเข้าถึงกำไรนั้นได้อย่างไร” กำไรไม่ได้อยู่ที่เดิม เปลี่ยนที่อยู่ใหม่ ต้องรู้ความต้องการสินค้าใหม่ที่ตรงตามความต้องการสินค้า ค้นหาช่องว่างและเสนอเงื่อนไขใหม่ให้กับลูกค้า แย่งลูกค้าจากตลาดกลางไปยังตลาดบนหรือตลาดล่าง โดยให้ผลประโยชน์ด้านราคาหรือคุณภาพอย่างชัดเจน

วิธีการสร้างกำไร (ต่อ) สร้างกำไรโดยกำหนดมาตรฐานก่อนคนอื่น หรือพยายามเปลี่ยนแปลง ยกระดับมาตรฐานใหม่ สร้างกำไรโดยใช้เทคโนโลยี ไล่ตามเทคโนโลยี สร้างกำไรโดยการเปลี่ยนแปลงวิธีการทำงาน เช่น จากทำงานครบวงจรมาเป็นเลือกเฉพาะส่วนที่มีกำไร สร้างกำไรโดยการเปลี่ยนแปลงเร็วกว่าคนอื่นอยู่เสมอ สร้างกำไรโดยการแก้ไขในส่วนที่คนอื่นทำไม่สำเร็จ

วิธีการสร้างกำไร (ต่อ) สร้างกำไรโดยการรู้จักเลือกลูกค้า มุ่งเฉพาะลูกค้าที่ให้กำไร สร้างกำไรโดยการแบ่งกลุ่มลูกค้าย่อยมากขึ้นและเสนอสินค้าที่หลากหลาย สร้างกำไรโดยการเพิ่มหรือเลือกช่องทางการจัดจำหน่ายใหม่ สร้างกำไรโดยการสร้างยี่ห้อสินค้า (Branding) สร้างกำไรโดยการหันมามองสินค้า ซึ่งสามารถกลับมาทำกำไรได้หลายครั้ง

สร้างความได้เปรียบด้านต้นทุน สร้างให้สามารถมีผลิตภัณฑ์จำหน่ายได้ก่อน 2 ปี สร้างยี่ห้อและสิทธิบัตร สร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับลูกค้า วางตำแหน่งที่เหนือกว่า บริหารกระบวนการสร้างคุณค่า สร้างมาตรฐาน