แนวทางการกำหนด สเปค
ตัวอย่าง ครุภัณฑ์การศึกษา 1. เครื่องพิมพ์ดีด 2. จักรธรรมดา ชนิดมีมอเตอร์ 3. ครุภัณฑ์วิชางานเกษตร 4. หุ่นจำลองแสดงอวัยวะมนุษย์ 5. เครื่องอัดลายหนัง 6. เครื่องผลิตบล็อกปูถนน 7. ครุภัณฑ์ดนตรี ฯลฯ
ขั้นตอนการดำเนินการกำหนดสเปค แต่งตั้งคณะกรรมการอย่างน้อย 3 คน โดยมี ผู้เชี่ยวชาญ หรือ ผู้มีความรู้ ในครุภัณฑ์ที่กำหนด ร่วมเป็นกรรมการ ด้วย
2. คณะกรรมการ ที่ได้รับการแต่งตั้ง จะต้องดำเนินการดังนี้ (1) จัดทำตารางเปรียบเทียบสเปคของผู้ขาย กับที่ คณะกรรมการกำหนด โดยสเปคที่กำหนดต้องมี รายละเอียดที่เป็นสาระสำคัญที่บ่งบอกภาพรวม ของครุภัณฑ์ และต้องตรงตามความต้องการของ ผู้ใช้ ไม่สนับสนุนหรือใกล้เคียงยี่ห้อใดยี่ห้อหนึ่ง เป็นการเฉพาะ และไม่กีดกันสินค้าไทยเข้าเสนอ ราคา
กรณีครุภัณฑ์ที่กำหนดมีผู้ผลิตได้รับ มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก กรณีครุภัณฑ์ที่กำหนดมีผู้ผลิตได้รับ มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) ตั้งแต่ 3 รายขึ้นไป ให้ระบุหมายเลข มอก. เป็นรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ
นำสเปคที่กำหนดไปสืบราคาให้ได้มากยี่ห้อ เพื่อนำราคามากำหนดเป็นราคาต่อหน่วย ซึ่งอาจจะเป็นราคาต่ำสุดที่สืบราคาได้ หรือราคา ถัวเฉลี่ย หรือราคาตามความเหมาะสมกับ คุณภาพ และภายในวงเงินที่ได้รับจัดสรร
(4) คณะกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งทุกคน ต้องลงนามรับรองสเปคที่กำหนดขึ้น ทุกหน้า (มุมล่างขวา)
และต้องระบุด้วยว่าครุภัณฑ์นั้น มียี่ห้อใด (5) จัดทำรายงานการประชุมพิจารณาสเปค และต้องระบุด้วยว่าครุภัณฑ์นั้น มียี่ห้อใด สามารถเข้าเสนอราคาได้ พร้อมกับ คณะกรรมการทุกคนลงนามทุกหน้า (มุมล่างขวา) (6) นำเสนอ ผอ. เขตพื้นที่การศึกษา หรือ ผอ. โรงเรียน แล้วแต่กรณี
(7) กรณีโรงเรียน ให้จัดทำรายละเอียดส่งเขตพื้นที่ การศึกษา ดังต่อไปนี้ (7) กรณีโรงเรียน ให้จัดทำรายละเอียดส่งเขตพื้นที่ การศึกษา ดังต่อไปนี้ ☻ คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ ☻ รายละเอียดสเปคพร้อมราคาต่อหน่วย ☻ แบบรูปรายการครุภัณฑ์ (ถ้ามี) ☻ ตารางเปรียบเทียบสเปค ☻ ตารางกำหนดราคา ☻ รายงานการประชุม
Web Site ของสำนักการคลังและสินทรัพย์ http://www.financial.obec.go.th
สวัสดี