ข้อมูลพื้นฐาน จังหวัดนครราชสีมา โรงพยาบาลศูนย์ 1 แห่ง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
งป. ทั้งหมด งป. เบิกจ่าย สวรส. วิท ย์ แพทย์สุขภา พจิต สบ ส. อนา มัย คร.คร. พัฒนฯอย , , ,061.3.
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
สำเร็จการศึกษาในเวลา 4 ปี
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
แผนการดำเนินงาน โครงการพัฒนาโรงพยาบาล “บริการฉับไว ไร้ความแออัด”
สถานการณ์การเงินการคลัง
สปสช. เขต 8 อุดรธานี รังสรรค์ ศรีภิรมย์ 10 พฤษภาคม 2556
บริการปฐมภูมิ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล
สัดส่วนงบประมาณ (ประจำ, ลงทุน, เหลื่อมปี) คงเหลือ : เบิกจ่าย กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ 31 มีนาคม 2553 งบประจำทั้งกระทรวง 49.31% สพฉ % สวรส %
1 2 ตามลักษณะ เศรษฐกิจ งบประมา ณ ตาม พ. ร. บ. ( ล้าน บาท ) ได้รับ จัดสรร ( ล้าน บาท ) เบิกจ่าย ร้อย ละ / งบ จัดสร ร สำนัก ชลประทานที่ 13 1,164,64 0,305.
ผลเบิกจ่ายภาพรวมกรมส่งเสริมสหกรณ์ (แยกตามประเภทงบรายจ่าย) ประจำปีงบประมาณ 2557 ข้อมูล ณ วันที่ 21 เมษายน 2557 เวลา น. ที่มา : กองคลัง กลุ่มบัญชีและงบประมาณ.
ความรู้พื้นฐานการเชื่อมโยงเครือข่าย
หลักการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความต้องการของประชาชนเกี่ยวกับ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 25 มิถุนายน 2551.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 มีนาคม 2551.
การวิเคราะห์สถานการณ์การเงินการคลัง
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 สิงหาคม 2551.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 มกราคม 2551.
งานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2551
การ บริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2552 รพ. บ้านลาด ณ 30 เมษายน 2552.
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
พระราชบัญญัติ คุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 4) พ. ศ
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
รักษาราชการแทนปลัดกระทรวงสาธารณสุข
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดอุดรธานี วันที่ 20 กันยายน 2553
ข้อมูลการให้บริการทาง การแพทย์ โรงพยาบาลนครพิงค์ ปีงบประมาณ 2551 ข้อมูล ณ วันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2551 ฝ่ายแผนงานและสารสนเทศ.
ข้อมูลการให้บริการทาง การแพทย์ โรงพยาบาลนครพิงค์ ปีงบประมาณ 2551 ข้อมูล ณ วันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2551 ฝ่ายแผนงานและสารสนเทศ.
ข้อมูลการให้บริการทางการแพทย์ โรงพยาบาลนครพิงค์ ปีงบประมาณ 2552 ข้อมูล ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2552 ฝ่ายแผนงานและสารสนเทศ.
โครงการ พัฒนาเครือข่ายบริการปฐมภูมิ เพื่อลดความแออัด โรงพยาบาลพัทลุง
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
ยินดีต้อนรับ รายงานการดำเนินงานข้อมูลสารสนเทศ
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ เขต 5 ปี 2552
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
ยุทธศาสตร์การเสริมพลัง
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ธันวาคม 2553 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
การพัฒนาสาขาสุขภาพช่องปาก เขตบริการสุขภาพที่ 11
มูลค่าคำขอรับการส่งเสริมในเดือน ม. ค. 56 เพิ่มขึ้น 2 %
สาขาโรคมะเร็ง.
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน
การพัฒนาการดำเนินงาน Service Plan เขตบริการสุขภาพที่ 1 สาขาตา
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
โครงการก่อสร้างอาคารผู้ป่วยใน 60 เตียง โรงพยาบาลโนนไทย
โครงการลดปัญหาสุขภาพจากระบบสืบพันธุ์
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กุมภาพันธ์ 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
RMCDOTNET โปรแกรมบริหารระบบบำรุงรักษาในโรงพยาบาล
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช
โครงการลดความแออัดของผู้รับบริการผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลชลบุรี
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
แผนภูมิแสดงแผนและผลการใช้จ่ายงบประมาณปี 2549 การใช้ จ่าย ( สะสม ) ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค. ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค. ก.ค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถานการณ์ผู้ป่วยนอก และกลวิธีในการดำเนินงาน ของโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา

ข้อมูลพื้นฐาน จังหวัดนครราชสีมา โรงพยาบาลศูนย์ 1 แห่ง โรงพยาบาลศูนย์ 1 แห่ง โรงพยาบาลชุมชน 26 แห่ง ศูนย์แพทย์ชุมชมเมือง 29 แห่ง สถานีอนามัย 350 แห่ง โรงพยาบาลจิตเวชศรีนครินทร์ นม. 1 แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพศูนย์อนามัย เขต 5 1 แห่ง

โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา รับผิดชอบ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา รับผิดชอบ FRIMARY CARE ประชากร UC 178,389 คน SECONDARY CARE ประชากรเขตเมือง 400,000 คน TERTIARY CARE ประชากรในจังหวัด 2,700,000 คน EXCELLENT CENTER เขต 13 6,000,000 คน ผู้ประกันตน สิทธิประกันสังคม ประมาณ 100,000 คน

เป็น รพ.ศูนย์และรับส่งต่อของจังหวัดในเขต 13 โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา เป็น รพ.แห่งเดียว ในเขตเมือง รับภาระบริการทุกด้านตั้งแต่ PRIMARY CARE  EXCELLENT CENTER เป็น รพ.ศูนย์และรับส่งต่อของจังหวัดในเขต 13 เป็น รพ.จังหวัดของจังหวัดนครราชสีมา เป็น รพ.ชุมชน รวมทั้งสถานีอนามัยในเขตเมือง

จำนวนผู้มารับบริการประเภทผู้ป่วยนอก แยกตามภูมิลำเนา อำเภอเมือง ปีงบประมาณ เขตเทศบาล % (คิดเปรียบ เทียบ อ.เมือง) นอกเขต เทศบาล % (คิดเปรียบ เทียบ อ.เมือง) Total % (คิดเปรียบ เทียบ ทั้งหมด) 2546 2547 2548 2549 113,597 118,761 122,826 50,978 45.66 % 44.89 % 45.76 % 45.11 % 135,169 145,811 151,610 62,030 54.34 % 55.11 % 55.24 % 54.89 % 248,766 264,572 274,436 113,008 46.12 % 45.74 % 45.17 % 44.90 % ตค.48- 28 กพ.49

จำนวนผู้มารับบริการประเภทผู้ป่วยนอก แยกตามภูมิลำเนา ต่างอำเภอ ใน จ.นม / ต่างจังหวัด ปีงบประมาณ ต่างอำเภอ ใน จ.นม % (คิดเปรียบ เทียบ ทั้งหมด) ต่างจังหวัด % (คิดเปรียบ เทียบ ทั้งหมด) รวม 2546 2547 2548 2549 243,078 262,898 277,875 115,483 45.07 % 45.45 % 45.74 % 45.89 % 47,513 50,972 55,261 23,186 8.81 % 9.10 % 9.21 % 539,357 578,442 607,572 251,677 ตค.48- 28 กพ.49

ข้อมูลผู้ป่วย การรับผู้ป่วย Refer ปีงบประมาณ 2547-2549 โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา ประเภทสถานพยาบาล 1. PCU 2. รพช. 3. ในจังหวัด 4. ต่างจังหวัด

ข้อมูลการรับผู้ป่วย Refer โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา ประเภท สถานพยาบาล 2547 2548 2549 % (เปรียบเทียบ จำนวนรับ refer ทั้งหมด) % (เปรียบเทียบ จำนวนรับ refer ทั้งหมด) % (เปรียบเทียบ จำนวนรับ refer ทั้งหมด) ตค.48- 28 กพ.49 PCU รพช. ในจังหวัด ต่างจังหวัด รวม 9,864 46,053 8,899 5,938 70,754 13.94 65.09 12.58 8.39 8,972 48,505 8,301 6,994 72,772 12.33 66.65 11.41 9.61 5,184 22,475 4,562 2,707 34,928 14.84 64.35 13.06 7.75

ปัญหาในการดำเนินงาน 1. สถานที่ ตึก OPD เป็นตึก 2 ชั้น สร้างมาตั้งแต่ พ.ศ. 2525 ขอตึกใหม่ พ.ศ. 2538 , พ.ศ. 2550 2. บุคลากร ขาดทุกระดับ โดยเฉพาะพยาบาล มี 54 % ของกรอบ 3. สถานะทางการเงิน - รายจ่ายมากกว่ารายรับ - สภาพคล่องทางการเงินลดลงเรื่อยๆ

เปรียบเทียบรายรับและรายจ่าย เดือน ตุลาคม 47 - กันยายน 2548 ล้านบาท

เปรียบเทียบรายรับและรายจ่าย เดือน ตุลาคม 48 - กุมภาพันธ์ 2549 ล้านบาท

อัตราส่วนสินทรัพย์สภาพคล่อง (QR) X = เงินบำรุงคงเหลือ Y = หนี้สินระยะสั้นของโรงพยาบาล (ต้องชำระภายใน 1 ปี)

อัตราส่วนสินทรัพย์สภาพคล่อง (QR) X = เงินบำรุงคงเหลือ Y = หนี้สินระยะสั้นของโรงพยาบาล (ต้องชำระภายใน 1 ปี)

ปัญหาในการดำเนินงาน 4. พฤติกรรมผู้ใช้บริการเปลี่ยนไป จากซื้อยาเอง หรือจ่ายเงินเองเป็นจ่ายแค่ 30 บาท ทำให้ใช้บริการเกินความจำเป็น 5. กฎหมายใหม่เรื่องการฟ้องร้อง ทำให้แพทย์หลีกเลี่ยงความเสี่ยงที่จะเกิดกับตัวเอง

กลวิธีในการดำเนินงานเพื่อลดความแออัด 1. เพิ่มสถานบริการในเขตอำเภอเมือง เพื่อรองรับการให้บริการสาธารณสุขระดับต่างๆ 2. ยกระดับ รพช รพ.ทั่วไป 3. เพิ่มศักยภาพ รพช และ PCU 4. พัฒนาระบบ Refer 5. พัฒนาระบบ Consult

1. เพิ่มสถานบริการในเขตอำเภอเมือง เพื่อรองรับการให้บริการสาธารณสุขระดับต่างๆ เพิ่ม รพ.ทั่วไป ขนาด 400 เตียง ในเขตอำเภอเมือง อีก 1 แห่ง เพิ่มสถานบริการลักษณะ Super PCU เพื่อการบริการระดับปฐมภูมิ และทุติยภูมิ 1 แห่ง

2. ยกระดับ รพช รพ.ทั่วไป เช่น รพ.ปากช่อง รพ.บัวใหญ่ รพ.ปักธงชัย

3. เพิ่มศักยภาพ รพช. และ PCU ลงไปช่วยด้านวิชาการ – Ortho - ตา – สูติ – กุมารฯ ทำ CPG รพช PCU จัดหาแพทย์ลงไปประจำ PCU

4. พัฒนาระบบ Refer GREEN channel ตารางคลินิก แต่ละสาขา เน้นแพทย์เรื่องการส่งกลับ

5. พัฒนาระบบ Consult เบอร์โทรศัพท์กลาง เบอร์แผนก ตารางเวรออก OPD

6. พัฒนาระบบไหลเวียนผู้ป่วยใน รพ. งานเชิงรุก ออกไปตรวจนอกสถานที่ One Stop Service - คลินิกประกันสังคม - งานตรวจสุขภาพ - งานตรวจแรงงานไปต่างประเทศ

ระบบนัด - ใช้ IT เข้ามาช่วย - นัดเหลื่อมเวลา เน้นการออกตรวจ OPD ให้ตรงเวลา Green Channel

6.6 เพิ่มเวลาในการบริการนอกเวลาราชการ - ในรพ. คลินิกนอกเวลาทั่วไปและเฉพาะทาง - นอก รพ. เครือข่ายคลินิกนอกเวลา ( แบบประกันสังคม )

7. ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเข้าใจ ในการให้บริการ

ขอบคุณค่ะ