สถานการณ์ผู้ป่วยนอก และกลวิธีในการดำเนินงาน ของโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
ข้อมูลพื้นฐาน จังหวัดนครราชสีมา โรงพยาบาลศูนย์ 1 แห่ง โรงพยาบาลศูนย์ 1 แห่ง โรงพยาบาลชุมชน 26 แห่ง ศูนย์แพทย์ชุมชมเมือง 29 แห่ง สถานีอนามัย 350 แห่ง โรงพยาบาลจิตเวชศรีนครินทร์ นม. 1 แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพศูนย์อนามัย เขต 5 1 แห่ง
โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา รับผิดชอบ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา รับผิดชอบ FRIMARY CARE ประชากร UC 178,389 คน SECONDARY CARE ประชากรเขตเมือง 400,000 คน TERTIARY CARE ประชากรในจังหวัด 2,700,000 คน EXCELLENT CENTER เขต 13 6,000,000 คน ผู้ประกันตน สิทธิประกันสังคม ประมาณ 100,000 คน
เป็น รพ.ศูนย์และรับส่งต่อของจังหวัดในเขต 13 โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา เป็น รพ.แห่งเดียว ในเขตเมือง รับภาระบริการทุกด้านตั้งแต่ PRIMARY CARE EXCELLENT CENTER เป็น รพ.ศูนย์และรับส่งต่อของจังหวัดในเขต 13 เป็น รพ.จังหวัดของจังหวัดนครราชสีมา เป็น รพ.ชุมชน รวมทั้งสถานีอนามัยในเขตเมือง
จำนวนผู้มารับบริการประเภทผู้ป่วยนอก แยกตามภูมิลำเนา อำเภอเมือง ปีงบประมาณ เขตเทศบาล % (คิดเปรียบ เทียบ อ.เมือง) นอกเขต เทศบาล % (คิดเปรียบ เทียบ อ.เมือง) Total % (คิดเปรียบ เทียบ ทั้งหมด) 2546 2547 2548 2549 113,597 118,761 122,826 50,978 45.66 % 44.89 % 45.76 % 45.11 % 135,169 145,811 151,610 62,030 54.34 % 55.11 % 55.24 % 54.89 % 248,766 264,572 274,436 113,008 46.12 % 45.74 % 45.17 % 44.90 % ตค.48- 28 กพ.49
จำนวนผู้มารับบริการประเภทผู้ป่วยนอก แยกตามภูมิลำเนา ต่างอำเภอ ใน จ.นม / ต่างจังหวัด ปีงบประมาณ ต่างอำเภอ ใน จ.นม % (คิดเปรียบ เทียบ ทั้งหมด) ต่างจังหวัด % (คิดเปรียบ เทียบ ทั้งหมด) รวม 2546 2547 2548 2549 243,078 262,898 277,875 115,483 45.07 % 45.45 % 45.74 % 45.89 % 47,513 50,972 55,261 23,186 8.81 % 9.10 % 9.21 % 539,357 578,442 607,572 251,677 ตค.48- 28 กพ.49
ข้อมูลผู้ป่วย การรับผู้ป่วย Refer ปีงบประมาณ 2547-2549 โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา ประเภทสถานพยาบาล 1. PCU 2. รพช. 3. ในจังหวัด 4. ต่างจังหวัด
ข้อมูลการรับผู้ป่วย Refer โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา ประเภท สถานพยาบาล 2547 2548 2549 % (เปรียบเทียบ จำนวนรับ refer ทั้งหมด) % (เปรียบเทียบ จำนวนรับ refer ทั้งหมด) % (เปรียบเทียบ จำนวนรับ refer ทั้งหมด) ตค.48- 28 กพ.49 PCU รพช. ในจังหวัด ต่างจังหวัด รวม 9,864 46,053 8,899 5,938 70,754 13.94 65.09 12.58 8.39 8,972 48,505 8,301 6,994 72,772 12.33 66.65 11.41 9.61 5,184 22,475 4,562 2,707 34,928 14.84 64.35 13.06 7.75
ปัญหาในการดำเนินงาน 1. สถานที่ ตึก OPD เป็นตึก 2 ชั้น สร้างมาตั้งแต่ พ.ศ. 2525 ขอตึกใหม่ พ.ศ. 2538 , พ.ศ. 2550 2. บุคลากร ขาดทุกระดับ โดยเฉพาะพยาบาล มี 54 % ของกรอบ 3. สถานะทางการเงิน - รายจ่ายมากกว่ารายรับ - สภาพคล่องทางการเงินลดลงเรื่อยๆ
เปรียบเทียบรายรับและรายจ่าย เดือน ตุลาคม 47 - กันยายน 2548 ล้านบาท
เปรียบเทียบรายรับและรายจ่าย เดือน ตุลาคม 48 - กุมภาพันธ์ 2549 ล้านบาท
อัตราส่วนสินทรัพย์สภาพคล่อง (QR) X = เงินบำรุงคงเหลือ Y = หนี้สินระยะสั้นของโรงพยาบาล (ต้องชำระภายใน 1 ปี)
อัตราส่วนสินทรัพย์สภาพคล่อง (QR) X = เงินบำรุงคงเหลือ Y = หนี้สินระยะสั้นของโรงพยาบาล (ต้องชำระภายใน 1 ปี)
ปัญหาในการดำเนินงาน 4. พฤติกรรมผู้ใช้บริการเปลี่ยนไป จากซื้อยาเอง หรือจ่ายเงินเองเป็นจ่ายแค่ 30 บาท ทำให้ใช้บริการเกินความจำเป็น 5. กฎหมายใหม่เรื่องการฟ้องร้อง ทำให้แพทย์หลีกเลี่ยงความเสี่ยงที่จะเกิดกับตัวเอง
กลวิธีในการดำเนินงานเพื่อลดความแออัด 1. เพิ่มสถานบริการในเขตอำเภอเมือง เพื่อรองรับการให้บริการสาธารณสุขระดับต่างๆ 2. ยกระดับ รพช รพ.ทั่วไป 3. เพิ่มศักยภาพ รพช และ PCU 4. พัฒนาระบบ Refer 5. พัฒนาระบบ Consult
1. เพิ่มสถานบริการในเขตอำเภอเมือง เพื่อรองรับการให้บริการสาธารณสุขระดับต่างๆ เพิ่ม รพ.ทั่วไป ขนาด 400 เตียง ในเขตอำเภอเมือง อีก 1 แห่ง เพิ่มสถานบริการลักษณะ Super PCU เพื่อการบริการระดับปฐมภูมิ และทุติยภูมิ 1 แห่ง
2. ยกระดับ รพช รพ.ทั่วไป เช่น รพ.ปากช่อง รพ.บัวใหญ่ รพ.ปักธงชัย
3. เพิ่มศักยภาพ รพช. และ PCU ลงไปช่วยด้านวิชาการ – Ortho - ตา – สูติ – กุมารฯ ทำ CPG รพช PCU จัดหาแพทย์ลงไปประจำ PCU
4. พัฒนาระบบ Refer GREEN channel ตารางคลินิก แต่ละสาขา เน้นแพทย์เรื่องการส่งกลับ
5. พัฒนาระบบ Consult เบอร์โทรศัพท์กลาง เบอร์แผนก ตารางเวรออก OPD
6. พัฒนาระบบไหลเวียนผู้ป่วยใน รพ. งานเชิงรุก ออกไปตรวจนอกสถานที่ One Stop Service - คลินิกประกันสังคม - งานตรวจสุขภาพ - งานตรวจแรงงานไปต่างประเทศ
ระบบนัด - ใช้ IT เข้ามาช่วย - นัดเหลื่อมเวลา เน้นการออกตรวจ OPD ให้ตรงเวลา Green Channel
6.6 เพิ่มเวลาในการบริการนอกเวลาราชการ - ในรพ. คลินิกนอกเวลาทั่วไปและเฉพาะทาง - นอก รพ. เครือข่ายคลินิกนอกเวลา ( แบบประกันสังคม )
7. ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเข้าใจ ในการให้บริการ
ขอบคุณค่ะ