การประกวดผลงานวิจัยและนวัตกรรม งานสัมมนาวิชาการเครือข่ายระบบทะเบียนนักศึกษาและประมวลผลการศึกษา ทั่วประเทศ ครั้งที่ 8 ประเภทงานวิจัย
วัตถุประสงค์การวิจัย การวิเคราะห์กระบวนการประมวลผลการศึกษา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน ผู้วิจัย นางสาวพัฒนา บุญอ่ำ หน่วยงาน สำนักทะเบียนและประมวลผล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการประมวลผลการศึกษา และวิธีแก้ไขปัญหาการปรับปรุงงานกระบวนการปลดล็อค การแก้ไขเกรดโดยการออกแบบระบบสารสนเทศTwo- Way Grading Confirm ลดการใช้ระบบManual ของเจ้าหน้าที่
การดำเนินการวิจัย กระบวนการดำเนินงาน
การดำเนินการวิจัย/ผล ขั้นตอนที่ 1 การศึกษากระบวนการประมวลผลการศึกษา การดำเนินการวิจัย/ผล ขั้นตอนที่ 1 การศึกษากระบวนการประมวลผลการศึกษา วิธีการ : FLOWCHART ผลการศึกษา กระบวนการส่งเกรด ประกาศเกรด ปลดล็อค ตรวจสอบผู้พิมพ์รายงานเกรด
ขั้นตอนที่ 2 การค้นหาปัญหา (Q,C,D) เพื่อคัดเลือกปัญหา วิธีการ : AAR CHECK SHEET ผลการศึกษา กระบวนการปลดล็อค การแก้เกรด I,เกรดทั่วไปผ่านระบบ MANUAL
ขั้นตอนที่ 3 สำรวจสภาพปัจจุบันและตั้งเป้าหมาย วิธีการ : WHY-WHY ANALYSIS บัตรความคิด ผลการศึกษา ดัชนีความรุนแรง ความเป็นไปได้ ความคุ้มค่า 375 คะแนน ความรุนแรง ระดับ 5 คือ การขอปลดล็อค,การแก้ไขเกรด ลดการใช้ MANUAL จนท.ให้ทำผ่านระบบทั้งหมด9
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์สาเหตุปัญหากำหนดแผนการแก้ไข วิธีการ WHY-WHY ANALYSIS ปรับปรุงวิธีทำงานECRS+ระดมสมอง ผลการศึกษา การไม่ปฏิบัติตาม WI ไม่มีการควบคุม ไม่มีการออกแบบระบบที่เหมาะสมกับสภาพทำงานจริง ขั้นตอนเยอะ
ขั้นตอนที่ 5 การดำเนินการปฏิบัติตามมาตรการแก้ไข วิธีการ : : 5W1H+ พัฒนาโปรแกรม TWO-WAY GRADING CONFIRM ผลการศึกษา ออกแบบโปรแกรม TWO-WAY GRADING CONFIRM:แก้เกรด โปรแกรม DOUBLE CONFIRM FOR REVISE GRADING การปลดล็อค
ขั้นตอนที่ 5 การดำเนินการปฏิบัติตามมาตรการแก้ไข (ต่อ) การเปรียบเทียบมาตรการแก้ไขการขอปลดล็อคระบบเพื่อแก้ไขการบันทึกเกรด
ขั้นตอนที่ 5 การดำเนินการปฏิบัติตามมาตรการแก้ไข (ต่อ) การเปรียบเทียบมาตรการแก้ไขเกรด I และการแก้เกรดทั่วไป
ขั้นตอนที่ 6 การตรวจสอบผลสรุปผลการแก้ไข วิธีการ : เปรียบเทียบผล:กราฟเรดาร์ ผลการศึกษา ผลการทดสอบการใช้โปรแกรมกับกลุ่มตัวอย่าง+จนท. 15 วิชา เดือน มิ.ย.-ก.ย. 56 ลดปัญหาลง 100% ความพึงพอใจของ จนท. สูงขึ้นจากเดิม 65% เป็น 97.33%
ขั้นตอนที่ 7 จัดทำมาตรฐานสรุปผล วิธีการ : จัททำคู่มือการใช้งานโปรแกรม (WI) ผลการศึกษา จัดทำคู่มือการใช้งานโปรแกรม TWO-WAY GRADING CONFIRM จัดสอนวิธีการใช้งาน ตรวจประเมินวิธีทำงานของเจ้าหน้าที่ทุกภาคเรียน
QUALITY : เพิ่มคุณภาพของงานลดช่องโหว่,ข้อบกพร่องการทำงานของระบบ MANUAL การนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ ลดปัญหาการทำงาน ระบบ MANUAL ของเจ้าหน้าที่ใน การแก้เกรด I,เกรดทั่วไป,ขอปลดล็อคลงได้ 100% ผลทางตรง PRODUCTIVITY : เพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการปฏิบัติงาน การขอปลดล็อคแก้ไขเกรดของระบบ สารสนเทศการประมวลผลการศึกษาให้ สูงขึ้น สะดวก รวดเร็ว ผลทางอ้อม QUALITY : เพิ่มคุณภาพของงานลดช่องโหว่,ข้อบกพร่องการทำงานของระบบ MANUAL
การนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ (ต่อ) COST : ประหยัดโดยพัฒนาโปรแกรมขึ้นใช้เอง โดยแก้ไข ปรับปรุงระบบให้ผู้สอน และเจ้าหน้าที่ ต้องทำคู่กัน ทั้ง 2 ฝ่ายในระบบที่พัฒนาใหม่ (TWO-WAY GRADING SYSTEM) ผลทางอ้อม DELIVERY : ตอบสนองความต้องการของผู้สอน ในการขอ ปลดล็อคแก้ไขเกรดได้ถูกต้อง รวดเร็ว
การนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ (ต่อ) SAFETY : ป้องกัน/ไม่เสี่ยง/ปลอดภัย ทั้งเจ้าหน้าที่+ผู้สอน ยืนยันเกรดในระบบคู่กัน ผลทางอ้อม MORALE : ผู้ปฏิบัติงานมีความสุข และความพอใจในการ ทำงานมากขึ้น ปัญหาลดลง ทำงานเป็นทีมงาน ประมวลผล+งาน IT และมีส่วนร่วมฝึกการคิด แก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ