การจัดการศูนย์สารสนเทศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เปรียบเทียบครุศาสตร์อุตสาหกรรมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ  
Advertisements

หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 25..
ตำแหน่งชำนาญการพิเศษ
ผลงานประเมินเข้าสู่ตำแหน่งนักวิชาการเงินและบัญชีชำนาญการพิเศษ
โครงการ การพัฒนาอีคอร์สใน รายวิชาศึกษาสังเกตและการมี ส่วนร่วม Development of E-course on Observation and Participation in.
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
หลักสูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์
การบริหารงานของห้องสมุด
การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ
การปรับเปลี่ยนวิธีคิดทำงานใหม่
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
แนะนำบริการสนับสนุนการวิจัย (Researcher Service Support)
การดำเนินงานด้านการบริการ
อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข
อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข
รายวิชาแหล่งสารสนเทศ การเลือกใช้และการประเมินแหล่งสารสนเทศ
การจัดการศูนย์ สารสนเทศ อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
การจัดการบริการสารสนเทศ
รายวิชาแหล่งสารสนเทศ แนวคิดเกี่ยวกับขอบเขตและประเภทของแหล่งสารสนเทศ
อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข
รายวิชาแหล่งสารสนเทศ การเลือกใช้และการประเมินแหล่งสารสนเทศ
รายวิชา แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
“ลูกค้าสัมพันธ์” ก้าวใหม่ในการบริการห้องสมุด
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
ขวัญตระกูล กลิ่นสุคนธ์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
คุยกันก่อนเรียน สัมมนาสัตวศาสตร์ ปีการศึกษา 2551.
ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษากับการเรียนรู้ตลอดชีวิต
มคอ.4 รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
หน่วยการเรียนที่ 5 แหล่งสารสนเทศ.
สื่อโสตทัศน์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ Management Software Hardware
หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
ตัวอย่าง การประชุม สภาวิชาการมหาวิทยาลัยนครพนม ครั้งที่ ..../…......
โมดูล 5 ผู้ใช้และความต้องการสารสนเทศ
ความร่วมมือระหว่างห้องสมุด : ความเป็นไปได้ในการจัดการ สารสนเทศ
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงาน และการบริหารงานสำนักงาน
หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรใหม่ พ. ศ คณะ / วิทยาลัย
สื่อการสอน : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบงานห้องสมุด (2)
แผนพัฒนางาน ฝ่ายประชาสัมพันธ์ เพื่อสนับสนุนงานวิชาการในการรองรับ AEC
แนวทางการวางแผนและจัดสรรอัตรากำลังสถาบันอุดมศึกษา
สท. กับการเรียนรู้ ภายในองค์กร โดย มยุรี ผ่อง ผุดพันธ์
สท. กับการเรียนรู้ ภายในองค์กร โดย มยุรี ผ่อง ผุดพันธ์
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเขียนข้อเสนอโครงการ
กลุ่ม A3 ข้าวนก.
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร “ การนิเทศการศึกษา ” สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร 11 – 13 มีนาคม 2552 ณ สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร
สัมมนาการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนสำหรับท้องถิ่น
การแปลงนโยบายและแผน นำสู่การปฏิบัติ
หัวข้อสัมมนา กลุ่มที่ 3 การฝึกอบรมของ ส. ป. ก. ควร อบรมอย่างไรบ้าง ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ ควรจัดทำ หลักสูตรอย่างไร การดำเนินงานพัฒนาเกษตรกรรุ่น ใหม่ จะทำอย่างไร.
สรุปบทความเรื่อง แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วย Competency
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเจ้าพระยา
นางรัชนี กิจฉวี วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
นโยบายการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
การศึกษาความพึงพอใจในการ ปฏิบัติงานของบุคลากร โรงเรียนบริหารธุรกิจอยุธยา A Study Of Job Satisfaction Of Ayutthaya Business Administration School Employees.
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 4
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการศูนย์สารสนเทศ อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข

หน่วยที่ 6 6. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ 6.1 ทรัพยากรมนุษย์ในศูนย์สารสนเทศ 6.2 การพัฒนาบุคลากรในศูนย์สารสนเทศ 6.3 การจัดการความเปลี่ยนแปลง

6.1 ทรัพยากรมนุษย์ในศูนย์สารสนเทศ 6.1.1 ความสำคัญของทรัพยากรมนุษย์ 6.1.2 ประเภทของบุคลากรสารสนเทศ

6.1.1 ความสำคัญของทรัพยากรมนุษย์ ทรัพยากรมนุษย์ (Human Resources) คือ คน หรือ บุคลากรที่ปฏิบัติหน้าที่ต่างๆ ในองค์การ ถือเป็นทรัพยากรที่มีค่าที่สุดในองค์การเมื่อเปรียบเทียบกับทรัพยากรประเภทอื่นๆ เช่น เงิน วัสดุอุปกรณ์ หรือ อาคารสถานที่ เป็นต้น

6.1.1 ความสำคัญของทรัพยากรมนุษย์ ทั้งนี้ เนื่องจากทรัพยากรมนุษย์สามารถใช้ความรู้ ความชำนาญและประสบการณ์ในการบริหารจัดการทรัพยากรประเภทอื่นๆให้องค์การดำเนินงานไปได้ตามวัตถุประสงค์

6.1 ประเภทของบุคลากรสารสนเทศ 6.1.1 บุคลากรวิชาชีพ (Information Professionals, Professional Librarian) 6.1.2 บุคลากรสนับสนุน (Support Staff)

6.1.1 บุคลากรวิชาชีพ หมายถึง ผู้ที่สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าระดับปริญญาตรีในสาขาวิชา สารสนเทศศาสตร์ สารสนเทศศึกษา บรรณารักษศาสตร์ หรือศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง

6.1.1 บุคลากรวิชาชีพ 1) ชื่อเรียกตำแหน่งทั่วไป ได้แก่ นักสารสนเทศ (Information Officer) นักเอกสารสนเทศ (Documentalist) บรรณารักษ์ (Librarian) นักจดหมายเหตุ (Archivist) ผู้จัดการสารสนเทศ(Information Manager) ผู้จัดการความรู้ (Knowledge Manager)

6.1.1 บุคลากรวิชาชีพ (ต่อ) 2) ชื่อเรียกตำแหน่งเฉพาะ เช่น นักดรรชนี (Indexer) นักสาระสังเขป (Abstractor) บรรณารักษ์จัดหา (Acquisition Librarian) บรรณารักษ์วิเคราะห์หมวดหมู่และทำรายการ (Cataloger) บรรณารักษ์ช่วยค้นคว้า (Reference Librarian)

6.1.1 บุคลากรวิชาชีพ (ต่อ) ผู้เชี่ยวชาญการแนะแหล่งสารสนเทศ (Referral Specialist) 3) ชื่อเรียกตำแหน่งอื่นๆ เช่น Cybrarian, Webrarian, Digital Librarian, Internet Service Librarian, Knowledge Navigator เป็นต้น

6.1.2 บุคลากรสนับสนุน หมายถึง ผู้ที่ปฏิบัติหน้าที่ต่างๆในศูนย์สารสนเทศโดยที่ไม่ต้องการความรู้เฉพาะทางวิชาชีพสารสนเทศศึกษา สารสนเทศศาสตร์ หรือบรรณารักษศาสตร์ เช่น บริการยืม-คืน บริการโสตทัศนวัสดุ ฯ

6.1.2 บุคลากรสนับสนุน (ต่อ) ชื่อเรียกตำแหน่ง ได้แก่ เจ้าหน้าที่ห้องสมุด พนักงานห้องสมุด เจ้าหน้าที่โสตทัศนูปกรณ์ พนักงานโสตทัศนูปกรณ์ เจ้าหน้าที่ธุรการ พนักงานธุรการ

6.2 การพัฒนาบุคลากรในศูนย์สารสนเทศ 6.2.1 ความสำคัญของการพัฒนาบุคลากรในศูนย์สารสนเทศ 6.2.2 วิธีการพัฒนาบุคลากรในศูนย์สารสนเทศ

6.2.1 ความสำคัญของการพัฒนาบุคลากรในศูนย์สารสนเทศ 1) สำหรับบุคลากรใหม่ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหา ขอบเขต และรายละเอียดวิธีปฏิบัติของงานที่ต้องรับผิดชอบ

6.2.1 ความสำคัญของการพัฒนาบุคลากรในศูนย์สารสนเทศ 2) สำหรับบุคลากรที่ปฏิบัติงานอยู่แล้ว เพื่อเพิ่มพูนความรู้ในวิชาชีพและเทคโนโลยีสารสนเทศใหม่ๆ สำหรับนำมาปรับปรุงวิธีการและกระบวนการปฏิบัติงานใหม่ให้ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้มากที่สุด

6.2.2 วิธีการพัฒนาบุคลากรในศูนย์สารสนเทศ 1) การปฐมนิเทศ 2) การฝึกอบรม 3) การเข้าร่วมประชุมสัมมนาทางวิชาการ 4) การศึกษาดูงาน

6.2.2 วิธีการพัฒนาบุคลากรในศูนย์สารสนเทศ 5) การศึกษาต่อ 6) การแลกเปลี่ยนบุคลากร 7) การทำวิจัยทางวิชาการ

6.3 การจัดการความเปลี่ยนแปลง “Change is the law of life. And those who look only to the past or present are certain to miss the future” (John F. Kennedy)

6.3 การจัดการความเปลี่ยนแปลง 6.3.1 ปัจจัยที่มีผลต่อความเปลี่ยนแปลงของศูนย์สารสนเทศ 6.3.2 เหตุที่บุคคลต่อต้านความเปลี่ยนแปลง 6.3.3 บทบาทของผู้บริหารในการจัดการความเปลี่ยนแปลง

6.3.1 ปัจจัยที่มีผลต่อความเปลี่ยนแปลงของศูนย์สารสนเทศ 1) พัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2) แนวคิดเศรษฐกิจฐานความรู้ (Knowledge – based Economy)

6.3.2 เหตุที่บุคคลต่อต้านความเปลี่ยนแปลง 1) การเปลี่ยนแปลงนำมาซึ่งเงื่อนไขใหม่ๆและต้องการความรู้และทักษะที่เปลี่ยนไปจากเดิม (Change introduces new conditions and requires different skills and knowledge)

6.3.2 เหตุที่บุคคลต่อต้านความเปลี่ยนแปลง 2) บุคคลขาดความเข้าใจในเรื่องและวิธีการที่จะเปลี่ยนแปลง 3) กังวลใจว่าจะกระทบกับสถานภาพปัจจุบัน 4) เคยชินกับวิธีปฏิบัติงานเดิมๆ 5) คุ้นเคยกับเพื่อนร่วมงานเดิมๆ

6.3.3 บทบาทของผู้บริหารต่อการจัดการความเปลี่ยนแปลง 1) ให้ความรู้และโน้มน้าวให้บุคลากรตระหนักถึงความจริงของการเปลี่ยนแปลง 2) ตระหนักถึงการต่อต้านการเปลี่ยนแปลง ให้ความสำคัญและจัดการแก้ปัญหา 3) นำการเปลี่ยนแปลงมาสู่องค์การอย่างค่อยเป็นค่อยไป