โครงสร้าง ภาษา HTML.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างและส่วนประกอบภาษา HTML
Advertisements

การสร้างเว็บด้วยภาษา HTML
คำสั่งเริ่มต้น รูปแบบ. <HTML>. </HTML>
เรียนรู้และเข้าใจ HTML อย่างง่าย
ประเภทของข้อมูล Excel 2007
HTML Language ภาษา HTML คืออะไร ? HTML (Hyper Text Markup Language) เป็นภาษาที่ใช้ในการพัฒนา web page เพื่อให้โปรแกรม web brower ต่างๆ (Internet Explorer,
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
เว็บไซต์ สาขา สารสนเทศศาสตร์
การเขียนผังงาน.
Script Programming& Internet Programming
หลักการออกแบบเว็บ กำหนดกลุ่มเป้าหมาย จำแนกกลุ่มเนื้อหา
JavaScript.
HTML เบื้องต้น ธวัชชัย สลางสิงห์.
องค์ประกอบของโปรแกรม
บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic
รูปแบบโครงสร้างภาษาซี
PHP LANGUAGE.
HTML (คืออะไร) ภาษา HTML (HyperText Markup Language) เป็นภาษาที่ใช้คำสั่งที่เรียกว่า Tag มีทั้งเปิดและปิด เพื่อกำหนดบริเวณที่มีผลของคำสั่ง คำสั่งภาษา HTML.
PHP LANGUAGE.
ลักษณะพิเศษของ ภายใต้คำสั่ง <BODY>
วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web-based Programming)
ภาษา HTML เบื้องต้น เช่น Internet Explorer และ Netscape Navigator
รูปแบบของเว็บเพจ. รูปแบบของเว็บเพจ รูปแบบของเว็บเพจ 1. เว็บเพจในแนวตั้ง.
ปฏิบัติการที่ 3 : การสร้างโฮมเพจอย่างง่าย
การตกแต่งเอกสาร การเลือกรูปแบบและขนาดของตัวอักษร
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
โครงสร้าง HTML โครงสร้างพื้นฐาน HTML คำสั่งขึ้นบรรทัดใหม่ <BR>
การจัดวางตำแหน่งข้อมูลไว้กึ่งกลาง
ฟังก์ชันของ PHP ฟังก์ชันคือ โปรแกรมย่อยที่สามารถประมวลผล และ คืนผลลัพธ์จาการประมวลผลนั้นสู่โปรแกรมหลักได้ ซึ่งจำเป็นในการเขียนโปรแกรมเพื่อช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพที่สูงขึ้น.
– Web Programming and Web Database
การสร้างเว็บด้วย HTML HyperText Markup Language
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การพิมพ์ข้อความ และการสร้างตาราง
การพิมพ์รายงาน / วิทยานิพนธ์
บทนิพนธ์ 1. รายงาน (Report) 2. ภาคนิพนธ์ (Term Paper)
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
การสร้างเว็บเพจ HTML.
บทที่ 1 เริ่มต้นกับ HTML.
การพิมพ์การค้นคว้าอิสระ และวิทยานิพนธ์
Introduction to C Language
รายงาน เรื่อง จัดรูปแบบข้อมูล จัดทำโดย ด. ญ. ธิกานดา วัลยาภรณ์ ชั้นม.2/1 เลขที่ 19 เสนอ อาจารย์ ภานุมาศ ชาติมองแดง โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต.
การกำหนดลักษณะตัวอักษร
โปรแกรมภาษาจาวาเบื้องต้น Basic Java Programming 3(2-2-5)
HTML, PHP.
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
คำสั่งภาษา HTML เบื้องต้น
รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร. โครงสร้างภาษา HTML หัวข้อเรื่อง เว็บไซต์
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การสืบค้นทางคณิตศาสตร์
Hosting ( Hosting, Web Hosting)
บทที่ 3 การกำหนดรูปแบบตัวอักษร
HTML 1. รูปแบบพื้นฐานของ เอชทีเอ็มแอล
รหัสวิชา บทที่ 4 การจัดรูปแบบเอกสาร.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1
แนวคิดและศิลปะในการร่างหนังสือราชการ
รู้จักกับ Microsoft Access 2003
การวิเคราะห์กลั่นกรองหนังสือราชการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
โครงสร้าง ภาษาซี.
เสริมเว็บให้ดูสวย.
HTML (Hyper Text Markup Language) HTML (Hyper Text Markup Language) เป็นภาษา มาตรฐานสากลที่ใช้นำเสนอข้อมูลแบบ ผสมผสานในการสื่อสารแบบ World-Wide- Web.
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
บทที่ สร้างงานเอกสารและการแก้ไข
PHP เบื้องต้น.
HTML ก็คือภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงภาษา หนึ่งซึ่งถูกออกแบบมาเพื่อใช้ในการแสดงผล ข้อมูลบนระบบอินเตอร์เน็ท โดยใช้ เครื่องหมาย เป็นตัวกำหนดหลัก โดย ส่วนมากจะใช้คำสั่ง.
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
สื่อการสอนการเขียนเว็บเพจ ด้วยภาษา HTML
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
โครงสร้างของภาษา HTML
โดย ส.อ.ประกาศิต วรนุช วิททยาลัยเฉลิมกาณจนา
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงสร้าง ภาษา HTML

โครงสร้างภาษาHTML ภาษา HTML สามารถสร้างขึ้นได้ จากโปรแกรมสร้างไฟล์ข้อความ (Text Editor) ทั่วๆไป เช่น “Notepad” สามารถเรียนรู้ได้ง่าย และยังมีขนาดเล็กอีก ด้วย ประเภทของไฟล์ HTML จะเป็นประเภท .html

คำสั่งในภาษา HTML หรือที่ เรียก ว่า “Tag” จะเขียนอยู่ในเครื่อง < และ > Tag จะ แบ่งได้อยู่ 2 กลุ่ม หลักๆคือ 1.Tag เดี่ยว เป็นแท็กที่ไมต้องใช้ เครื่องหมาย / (Slash) เช่น <br> , <img> 2.Tag คู่ เป็นแท็กที่ต้องใช้เครื่องหมาย / (Slash) เช่น <html>….</html>

โครงสร้างหลัก เป็นรูปแบบ มาตรฐานในการสร้างเว็บเพจ ประกอบด้วยคำสั่งหลักอยู่ 4 คำสั่ง ดังนี้ <html>…..</html> <head>…..</head> <title>…..</title> <body>….</body>

<HTML>…..</HTML> เป็นคำสั่งที่บอกจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของเว็บเพจ <HEAD>…..</HEAD> เป็นคำสั่งในส่วนหัวเรื่องของเว็บเพจ <TITLE>…..</TITLE> อยู่ภายใต้คำสั่งของ HEAD ทำหน้าที่ กำหนดข้อความแสดงบน Titlebar สามารถกำหนด ความยาว ได้ 64 ตัวอักษร

รูปแบบการเขียนมีดังนี้ <HTML> <HEAD> <TITLE> titlebar </TITLE> </HEAD> <BODY> เนื้อหา รายละเอียด </BODY> </HTML>

ตัวอย่าง

การประมวลผลจากตัวอย่างที่1 คำสั่ง <Title> คำสั่ง <body>

คำสั่งในการกำหนดหัวเรื่อง (Heading) เพื่อ ให้ตัวอักษรขนาดใหญ่กว่า ปกติ เช่น ชื่อ บท ชื่หัวข้อ เป็นต้น ซึ่งคำสั่ง <H> มี 6 ระดับ โดย ระดับ ที่ 1 จะ มี ขนาดตัวอักษร ใหญ่ที่สุด ส่วน ระดับที่ 6 จะมี ขนาดตัวอักษรเล็กที่สุด

รูปแบบของคำสั่ง <H> <H1> …... </H> <H2> ….. </H> <H3> ….. </H> <H4> ….. </H> <H5> ….. </H> <H6> ….. </H>

ตัวอย่าง <HTML> <HEAD> <Title>Heading</Title> <H1> Heading </H> <H2> Heading </H> <H3> Heading </H> <H4> Heading </H> <H5> Heading </H> <H6> Heading </H> </HTML>

การประมวลผลจากตัวอย่างที่ 2 ผลของคำสั่ง <H1> ผลของคำสั่ง <H6>

คำสั่งขึ้นบรรทัดใหม่ (Line Break) ในเอกสารทั่วไป เราจะขึ้นบรรทัดใหม่ โดยการกด Enter แต่ในการสร้างเอกสร้าง HTML เว็บบราวเซอร์จะถือว่า เป็นการเว้นวรรค 1 ช่องและใช้เป็นจุดตัดคำขึ้นบรรทัดใหม่ถ้ายาวเกินขนาดบรรทัด แต่ถ้าต้องการให้ เอกสารHTML ตัดข้อความ ณ ตำแหน่งที่ เรากำหนด จะใช้คำสั่ง <BR> โดย มีรูปแบบดังนี้

คำสั่งย่อหน้าบรรทัดใหม่ <BR> ใช้คำสั่งโดย <HTML> <HEAD> <TITLE> Break Line </TITLE> </HEAD> <BODY> มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร <BR> วิทยาเขตเทเวศ </BODY> </HTML>

การประมวลผลตัวอย่างที่ 3

<TITLE> Break Line </TITLE> </HEAD> <BODY> HTML> <HEAD> <TITLE> Break Line </TITLE> </HEAD> <BODY> มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร <BR><BR><BR> วิทยาเขตเทเวศ </BODY> </HTML>

ผลที่ได้ ผลของคำสั่ง <BR><BR><BR>

คำสั่ง <P> คำสั่ง <P> เป็นคำสั่งจัดวางย่อหน้าข้อความ <body> ข้อความ<P>ข้อความ </body>

ตัวอย่างการใช้ คำสั่ง <P> HTML> <HEAD> <TITLE> Break Line </TITLE> </HEAD> <BODY> มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร <P> วิทยาเขตเทเวศ </BODY> </HTML>

ผลที่ได้จาก คำสั่ง <P>

คำสั่งเสริมช่วยของ <P> คำสั่งเสริมที่ช่วยในการจัดตำแหน่งของย่อหน้า คือ Alignment โดยมีรูปแบบดังนี้ <P Align=ตำแหน่ง>….ข้อความ….</p> ตำแหน่งที่ใช้ในการจัดย่อหน้า มีด้วยกันสามลักษณะ คือ Left จัดข้อความชิดซ้ายบรรทัด Center จัดข้อความกึ่งกลางบรรทัด Right จัดข้อความชิดขวาบรรทัด

ก่อนใช้คำสั่ง <P Align=Center> <HTML> <HEAD> <TITLE> :: ยินดีต้อนรับ ::</TITLE> </HEAD> <BODY> มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตเทเวศ</BODY> </HTML>

ก่อนใช้คำสั่ง <P Align=Center>

ตัวอย่าง การใช้คำสั่ง HTML> <HEAD> <TITLE> :: ยินดีต้อนรับ ::</TITLE> </HEAD> <BODY> <P Align=Center>มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตเทเวศ</P> </BODY> </HTML>

ผลที่ได้จากคำสั่ง <P Align=Center>