งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โปรแกรมภาษาจาวาเบื้องต้น Basic Java Programming 3(2-2-5)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โปรแกรมภาษาจาวาเบื้องต้น Basic Java Programming 3(2-2-5)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 5111306 โปรแกรมภาษาจาวาเบื้องต้น Basic Java Programming 3(2-2-5)
อ.ดร.สกุล คำนวนชัย วิศวกรรมสารสนเทศและการสื่อสาร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี

2 1 การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้เรียนมีความเข้าใจหลักการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object Oriented Programming ) เพื่อให้ผู้เรียนรู้ถึงความเป็นมาของโปรแกรมภาษาจาวา เพื่อให้ผู้เรียนสามารถติดตั้งโปรแกรมภาษาจาวาได้

3 การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
เนื้อหา หลักการเขียนโปรแกรม โครงสร้างโปรแกรมภาษาจาวา การติดตั้งโปรแกรมภาษาจาวาได้ โปรแกรม Hello World

4 หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนโปรแกรมแบบมีโครงสร้าง (Structure Programming) : C, Pascal การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object Oriented Programming) : C, C#, PHP, .net, Java

5 การเขียนโปรแกรมแบบโครงสร้าง
การเขียนโปรแกรมแบบโครงสร้าง คือ การเขียนโปรแกรมโดยจัดแบ่งคำสั่งออกเป็นชุดคำสั่งย่อย (Function) หลายๆ ชุด ซึ่งโปรแกรมหลัก (Main Function) จะทำการเรียกฟังก์ชันย่อย (Sub Function) มาใช้งานตามต้องการ โดยก่อนเรียกใช้งานโปรแกรมย่อยต้องมีตัวโปรแกรมย่อยเป็นองค์ประกอบของโปรแกรมหลัก ซึ่งมีวิธีการทำงานดังรูป

6

7

8

9

10

11 ในภาษาจาวา ข้อความ หมายถึง กลุ่มของอักษรหลายๆตัวที่อยู่ภายในเครื่องหมายคำพูด เช่น “Hello world” หรือ "สวัสดีครับ" เป็นต้น คำสั่งภาษาจาวาที่ใช้แสดงข้อความบนหน้าจอนั้นมีอยู่หลายคำสั่งแต่ที่ควรจะ ใช้คือคำสั่ง printf() ซึ่งมีรูปแบบการใช้งานดังนี้ System.out.printf("ข้อความที่ต้องการแสดง"); คำสั่ง printf() แต่ละอันจะใช้แสดงหนึ่งบรรทัด ดังนั้นเมื่อต้องการให้เริ่มบรรทัดใหม่หลังการแสดงข้อความเราจะใช้รูปแบบต่อ ไปนี้ System.out.printf("ข้อความที่ต้องการแสดงหนึ่งบรรทัด%n"); คำสั่ง %n หมายถึง แทรกบรรทัดใหม่

12 ตัวอย่างโปรแกรม เราสามารถต่อข้อความเข้าด้วยกันโดยใช้เครื่องหมาย +
public class MyApp { public static void main(String[] args) System.out.printf("Inf and Comm Engineering.%n"); System.out.printf("Faculty of Industrain Technology.%n"); System.out.printf("Thepsatri Rajabhat University.%n"); } เราสามารถต่อข้อความเข้าด้วยกันโดยใช้เครื่องหมาย + System.out.printf("สวัสดี" + “ชาววิศวกรรม%n"); จะให้ผลลัพธ์เหมือนกับ System.out.printf("สวัสดีชาววิศวกรรม%n");

13 การบ้าน ให้นักศึกษาเขียนโปรแกรมภาษาจาวา ให้สามารถแสดงชื่อนักศึกษาและข้อความอื่นตามต้องการอย่างน้อย 5 บรรทัด ให้นักศึกษาเขียนโปแกรมให้ผลการทำงานเป็นดังรูปด้านล่าง


ดาวน์โหลด ppt โปรแกรมภาษาจาวาเบื้องต้น Basic Java Programming 3(2-2-5)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google