HTML (คืออะไร) ภาษา HTML (HyperText Markup Language) เป็นภาษาที่ใช้คำสั่งที่เรียกว่า Tag มีทั้งเปิดและปิด เพื่อกำหนดบริเวณที่มีผลของคำสั่ง คำสั่งภาษา HTML.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างและส่วนประกอบภาษา HTML
Advertisements

การสร้างเว็บด้วยภาษา HTML
คำสั่งเริ่มต้น รูปแบบ. <HTML>. </HTML>
บทที่ 7 การใช้ตัวอักษร สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษร ใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น.
โดย : จิรวัฒน์ พรหมพร ปรับปรุงครั้งล่าสุด 18/07/49.
NetLibrary จัดทำโดย งานบริการสารสนเทศ ฝ่ายบริการ สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระ นครเหนือ.
เรียนรู้และเข้าใจ HTML อย่างง่าย
Script Programming& Internet Programming
หลักการออกแบบเว็บ กำหนดกลุ่มเป้าหมาย จำแนกกลุ่มเนื้อหา
JavaScript.
HTML เบื้องต้น ธวัชชัย สลางสิงห์.
องค์ประกอบของโปรแกรม
นำเสนอการใช้บริการของ
ADOBE Dreamweaver CS3.
PHP LANGUAGE.
การกำหนดลักษณะของตัวอักษร
PHP LANGUAGE.
โครงสร้าง ภาษา HTML.
ลักษณะพิเศษของ ภายใต้คำสั่ง <BODY>
วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web-based Programming)
ภาษา HTML เบื้องต้น เช่น Internet Explorer และ Netscape Navigator
ปฏิบัติการที่ 3 : การสร้างโฮมเพจอย่างง่าย
การสร้างเอกสารเว็บเพจ
การตกแต่งเอกสาร การเลือกรูปแบบและขนาดของตัวอักษร
คู่มือการใช้ฐานข้อมูล American Chemical Society (ACS) จัดทำโดย สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ปรับปรุงครั้งล่าสุด 5 มีนาคม 2551.
การแนะนำการใช้ฐานข้อมูล SpringerLink eBooks
โครงสร้าง HTML โครงสร้างพื้นฐาน HTML คำสั่งขึ้นบรรทัดใหม่ <BR>
การจัดวางตำแหน่งข้อมูลไว้กึ่งกลาง
การสร้างตาราง (Table)
– Web Programming and Web Database
การสร้างเว็บด้วย HTML HyperText Markup Language
ปรับปรุงครั้งล่าสุด 23/04/54 โดย จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส.
เกียรติพงษ์ ยอดเยี่ยมแกร
ขั้นตอนการเขียนเว็บเพจ
บทที่ 9 การใส่รูปภาพ (Image).
การพัฒนาเว็บเบื้องต้นด้วย Macromedia Dreamweaver
คู่มือสร้างบล็อก blog.spu.ac.th
บทนิพนธ์ 1. รายงาน (Report) 2. ภาคนิพนธ์ (Term Paper)
การสร้างเว็บเพจ HTML.
การออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์
บทที่ 1 เริ่มต้นกับ HTML.
SCIENCE DIRECT.
Cascading Style Sheet ง การเขียนเว็บไซต์ สไตล์ ป. พ. ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยา คม.
การกำหนดลักษณะตัวอักษร
เรื่อง การจัดแต่งเอกสาร
ใบงานที่ 7 การรับและแสดงผลข้อมูล
HTML, PHP.
การนำเสนองานบนอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม PHP
การสืบค้นทางคณิตศาสตร์
Search Engine จัดทำโดย น. ส. กรรณิดา เดิมบางปิด เลขที่ 1 น. ส. เกศินี ศรีอินทร์สุทธิ์ เลขที่ 4 น. ส. เบญจวรรณ แซ่อั๊ง เลขที่ 51 1.
วิธีการสืบค้นข้อมูล ด้วย Search engine และการเขียนบรรณานุกรม
บทที่ 3 การกำหนดรูปแบบตัวอักษร
การจัดการเกี่ยวกับตารางตอนที่ ๖ การสร้างตาราง (TABLE) เบื้องต้น : การ สร้างหัวตาราง ตารางทุกตารางจะมี “ ส่วนหัว ” ของตาราง หรือ HEAD เพื่อใช้กำกับหมู่
HTML 1. รูปแบบพื้นฐานของ เอชทีเอ็มแอล
หลักการเขียนเว็บไซต์
การเขียนเว็บเพ็จด้วยโปรแกรม
ภาพนี้ชื่อว่าอะไร ? ก. แถบเมนูบาร์
Knovel E-Books Database.
เสริมเว็บให้ดูสวย.
HTML (Hyper Text Markup Language) HTML (Hyper Text Markup Language) เป็นภาษา มาตรฐานสากลที่ใช้นำเสนอข้อมูลแบบ ผสมผสานในการสื่อสารแบบ World-Wide- Web.
EBook Collection EBSCOhost.
หน้าจอการสืบค้น (OPAC)
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
PHP เบื้องต้น.
สื่อการสอนการเขียนเว็บเพจ ด้วยภาษา HTML
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 ฐานข้อมูลวารสารวิชาการครอบคลุมเนื้อหา ทั้งในสาขาวิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการแพทย์  ผู้ใช้สามารถสืบค้นได้ตั้งแต่วารสารปีปัจจุบัน.
โครงสร้างของภาษา HTML
โดย ส.อ.ประกาศิต วรนุช วิททยาลัยเฉลิมกาณจนา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

HTML (คืออะไร) ภาษา HTML (HyperText Markup Language) เป็นภาษาที่ใช้คำสั่งที่เรียกว่า Tag มีทั้งเปิดและปิด เพื่อกำหนดบริเวณที่มีผลของคำสั่ง คำสั่งภาษา HTML จะเริ่มมีผลที่บริเวณ Tag เปิด และจะสิ้นสุดผลของคำสั่งนั้นเมื่อถึง Tag ปิด เมื่อเวบเพจถูกเรียกให้แสดงผล Browser จะอ่านภาษา HTML และแปลความหมายของคำสั่งแล้วนำมาแสดงผล

Tag (คืออะไร) Tag เป็นลักษณะเฉพาะของภาษา HTML ใช้ในการระบุรูปแบบคำสั่ง หรือการลงรหัสคำสั่ง HTML ภายในเครื่องหมาย less-than bracket ( < ) และ greater-than bracket ( > )

Tag มีกี่ประเภท Tag เดี่ยว เป็น Tag ที่ไม่ต้องมีการปิดรหัส เช่น <P>, <BR> เป็นต้น Tag คู่ (เปิด/ปิด) เป็น Tag ที่ประกอบด้วย Tag เปิด และ Tag ปิด โดย Tag ปิด จะมีเครื่องหมาย slash ( / ) นำหน้าคำสั่งใน Tag นั้นๆ เช่น <B>…</B>, <BLINK>…</BLINK> เป็นต้น

Attributes คืออะไร Attributes เป็นส่วนขยายความสามารถของ Tag จะต้องใส่ภายในเครื่องหมาย < > ในส่วน Tag เปิดเท่านั้น Tag คำสั่ง HTML แต่ละคำสั่ง จะมี Attribute แตกต่างกันไป และมีจำนวนไม่เท่ากัน การระบุ Attribute มากกว่า 1 Attribute ให้ใช้ช่องว่างเป็นตัวคั่น

ตัวอย่างการใช้ Attribute Attributes ของ Tag เกี่ยวกับการจัดพารากราฟ คือ <P> ประกอบด้วย ALIGN="Left/Right/Center/Justify" ซึ่งสามารถเขียนได้ดังนี้ <P ALIGN="Left">...</P> หรือ <P ALIGN="Right">...</P> <P ALIGN="Center">...</P>

โครงสร้างของ HTML

โครงสร้างของ HTML (Head Section) (Body Section)

(Head Section) Head Section เป็นส่วนที่ใช้อธิบายเกี่ยวกับข้อมูลเฉพาะของหน้าเว็บนั้นๆ เช่น ชื่อเรื่องของหน้าเว็บ (Title), ชื่อผู้จัดทำเว็บ (Author), คีย์เวิร์ดสำหรับการค้นหา (Keyword)

Tag สำคัญในส่วนของ Head Section <HEAD> <TITLE>ข้อความอธิบายชื่อเรื่องของเว็บ</TITLE> <META HTTP-EQUIV="Content-Type" CONTENT="text/html; charset=TIS-620"> <META NAME="Author" CONTENT="ชื่อผู้พัฒนาเว็บ"> <META NAME="KeyWords" CONTENT="ข้อความ 1, ข้อความ 2, …"> </HEAD>

ข้อจำกัดของ Head Section ข้อความที่ใช้เป็น TITLE ไม่ควรพิมพ์เกิน 64 ตัวอักษร, ไม่ต้องใส่ลักษณะพิเศษ เช่น ตัวหนา, เอียง หรือสี และควรใช้เฉพาะภาษาอังกฤษที่มีความหมายครอบคลุมถึงเนื้อหาของเอกสารเว็บ หรือมีลักษณะเป็นคำสำคัญในการค้นหา (Keyword) การแสดงผลจาก Tag TITLE บนเบราเซอร์จะปรากฏข้อความที่กำกับด้วย Tag TITLE ในส่วนบนสุดของกรอบหน้าต่าง (ใน Title Bar ของ Window นั่นเอง)

ข้อจำกัดของ Head Section (ต่อ) Tag META จะไม่ปรากฏผลบนเบราเซอร์ แต่จะเป็นส่วนสำคัญ ในการทำคลังบัญชีเว็บ สำหรับผู้ให้บริการสืบค้นเว็บ (Search Engine) และค่าอื่นๆ ของการแปลความหมาย การพิมพ์ชุดคำสั่ง HTML สามารถพิมพ์ได้ทั้งตัวพิมพ์เล็ก ตัวพิมพ์ใหญ่ หรือผสม การย่อหน้า เว้นบรรทัด หรือช่องว่าง สามารถกระทำได้อิสระ โปรแกรมเบราเซอร์จะไม่สนใจเกี่ยวกับระยะเว้นบรรทัดหรือย่อหน้า หรือช่องว่าง

Body Section Body Section เป็นส่วนเนื้อหาหลักของหน้าเว็บ ซึ่งการแสดงผลจะต้องใช้ Tag จำนวนมาก ขึ้นอยู่กับลักษณะของข้อมูล เช่น ข้อความ, รูปภาพ, เสียง, วีดิโอ หรือไฟล์ต่างๆ ส่วนเนื้อหาเอกสารเว็บ เป็นส่วนการทำงานหลักของหน้าเว็บ ประกอบด้วย Tag มากมายตามลักษณะของข้อมูล ที่ต้องการนำเสนอ

กลุ่มของ Tag คำสั่งใน Body Section กลุ่มคำสั่งเกี่ยวกับการจัดการพารากราฟ กลุ่มคำสั่งจัดแต่ง/ควบคุมรูปแบบตัวอักษร กลุ่มคำสั่งการทำเอกสารแบบรายการ (List) กลุ่มคำสั่งเกี่ยวกับการทำลิงค์ กลุ่มคำสั่งจัดการรูปภาพ กลุ่มคำสั่งจัดการตาราง (Table) กลุ่มคำสั่งควบคุมเฟรม กลุ่มคำสั่งอื่นๆ