การพัฒนาห้องสมุดดิจิทัล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Advertisements

การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ
Social Network Conference
Dublin Core Metadata tiac. or
Graduate School Khon Kaen University
ณ ห้องฟ้าตรัง 1 โรงแรม เอ็ม.พี. รีสอร์ท อ.เมือง จ.ตรัง
แนวทางการรายงานผลการปฏิบัติราชการโดยผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
ระบบสารสนเทศแผนงานบำรุงทาง
Information System and Technology
E-Service รศ. ดร. อนงค์นาฏ ศรีวิหค สำนักบริการคอมพิวเตอร์ มก.
ระบบสารสนเทศและการพัฒนาระบบ Information Systems and System Development
การประเมินคุณภาพสารสนเทศ
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
อุปกรณ์สื่อสารในระบบเครือข่าย เครือข่ายคอมพิวเตอร์ การสื่อสารข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
เทคโนโลยีสารสนเทศในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
จดหมายเหตุมหาวิทยาลัยอิเล็กทรอนิกส์ กับระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
หัวหน้าฝ่ายสารสนเทศการศึกษา ศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
การสัมมนา PULINET วิชาการ ครั้งที่ 4 23 มกราคม 2557
ขวัญตระกูล กลิ่นสุคนธ์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
(1) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Creating Effective Web Pages
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สำหรับสถาบันอุดมศึกษา
การใช้งานฐานข้อมูล ACM Digital Library
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
อินเทอร์เน็ตกับการศึกษาค้นคว้า
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการค้นคว้า
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
สารสนเทศ : ความหมาย ความสำคัญ แหล่งสารสนเทศ
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
The 5 most satisfied items
ความร่วมมือระหว่างห้องสมุด : ความเป็นไปได้ในการจัดการ สารสนเทศ
บทที่ 3 กระบวนการแสวงหาและนำเสนอสารสนเทศ
โครงสร้างทรัพยากรสารสนเทศ
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
การรายงานผลการจัดการศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
ณัฏฐวุฒิ เอี่ยมอินทร์
เพื่อช่วยพัฒนาศักยภาพ
เทคนิคการสืบค้น Google
การดำเนินการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (O-NET)
การพัฒนาห้องสมุดดิจิทัล
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6
: information security (ความมั่นคงปลอดภัยของสารสนเทศ)
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ การทำงานของคอมพิวเตอร์นอกจากใช้ระบบปฏิบัติการแล้ว ผู้ใช้ต้องใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการทำงานด้านต่าง ๆ ซึ่งต้องอาศัยซอฟต์แวร์ที่มีผู้ผลิตขึ้นให้เลือกใช้งาน.
Green IT กรมทางหลวงชนบท.
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
การเขียนแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
 จัดเก็บ บริหาร บันทึกการ ฝึกอบรม ความต้องการ การฝึกอบรม การวางแผนการ ฝึกอบรม การมอบหมาย งาน   บริหารจัดการบันทึก สภาพแวดล้อมทั้ง  อุณหภูมิ ความชื้น.
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
การลงข้อมูลแผนการสอน
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
RMCDOTNET โปรแกรมบริหารระบบบำรุงรักษาในโรงพยาบาล
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
บทที่ 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
ความหมายและบทบาทของ เทคโนโลยีสารสนเทศ
นโยบายการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
วิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ รหัสวิชา Computer Technology and Operating System บทที่ 1 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ อ.รจนา วานนท์ Master.
Acquisition Module.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาห้องสมุดดิจิทัล

หลักการพัฒนาห้องสมุดดิจิทัล นโยบาย ต้องได้รับการสนับสนุนด้านงบประมาณและบุคลากร วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการพัฒนา พิจารณาจากความต้องการของผู้ใช้บริการ, ขอบเขตการให้บริการ, การเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัล, ลิขสิทธิ์ ผู้ใช้บริการห้องสมุดดิจิทัล กำหนดกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจน เพื่อจะได้ทราบเป้าหมายของการใช้บริการ เพื่อนำไปใช้ในการออกแบบและพัฒนาห้องสมุดดิจิทัลต่อไป

หลักการพัฒนาห้องสมุดดิจิทัล ทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัล ต้องมีนโยบายในการคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศที่ให้บริการในห้องสมุดดิจิทัล การคัดเลือกวัสดุต้นแหล่งเพื่อดัดแปลงเป็นทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัล โดยคำนึงถึงความต้องการของผู้ใช้ คุณค่าของทรัพยากรสารสนเทศต้นแหล่ง ลักษณะทางกายภาพของวัสดุต้นแหล่ง รวมถึงลิขสิทธิ์ด้วย บุคลากร ต้องอาศัยความร่วมมือและความชำนาญของบุคลากรหลายสาขาวิชา งบประมาณในการดำเนินงาน ควรมีแหล่งงบประมาณที่แน่นอนเพื่อสนับสนุนในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ระบบเครือข่าย หรือค่าจ้างเหมาบุคลากร ฯลฯ

หลักการพัฒนาห้องสมุดดิจิทัล ลิขสิทธิ์ ต้องคำนึงถึงสิทธิ์ในการใช้งาน ควรมีการขออนุญาตเจ้าของผลงานต้นฉบับ มาตรฐาน ควรพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศบนมาตรฐานต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ในการใช้ในการใช้งานร่วมกัน เช่น Markup language, Metadata, MARC เทคโนโลยี ระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ในการแปลงวัสดุต้นแหล่งให้เป็นดิจิทัล ซอฟต์แวร์ในการจัดการต่างๆ การบำรุงรักษาทรัพยากรดิจิทัล แผนการจัดเก็บและสำรองข้อมูล และถ่ายโอนไปยังเทคโนโลยีใหม่ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

ผู้รับผิดชอบในการห้องสมุดดิจิทัล ผู้บริหาร ต้องเห็นชอบและสนับสนุนทางด้านงบประมาณ และการบริหารจัดการต่างๆ บุคลากรในสาขาวิชาบรรณารักษ์ บรรณารักษ์ ผู้เชี่ยวชาญเนื้อหา นักดรรชนี นักจดหมายเหตุ บุคลากรในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร นักคอมพิวเตอร์ โปรแกรมเมอร์ ผู้ดูแลเว็บไซต์ ช่างเทคนิคภาพ นักพัฒนาฐานข้อมูล

ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะที่ต้องการ ทักษะด้านการจัดการ การจัดการโครงการโดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ ไม่ว่าจะเป็นสถานที่ เวลา งบประมาณ วัสดุ เทคโนโลยีสารสนเทศ และบุคลากร ทักษะด้านการวางแผน การระดมทุน เป็นต้น ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ การสืบค้นสารสนเทศ การเลือกสรรทรัพยากรสารสนเทศจากเครือข่ายอินเทอร์เน็ต, การสร้างโฮมเพจ, การพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์, การสงวนรักษาทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัล, การใช้โปรแกรมห้องสมุดดิจิทัลต่างๆ ทักษะด้านการสร้างทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัลและเครื่อมือช่วยค้นสำหรับผู้ใช้บริการ ด้านการจัดการสื่อประสม เทคโนโลยีและสื่อดิจิทัล การทำดรรชนี การทำรายการและจัดหมวดหมู่เอกสารดิจิทัล การจัดการภาพและเสียงดิจิทัล

ทักษะที่ต้องการ ทักษะด้านระบบสารสนเทศดิจิทัลและสารสนเทศออนไลน์ การพัฒนาแหล่งสารสนเทศดิจิทัล การออกแบบและพัฒนาฐานข้อมูลและซอฟต์แวร์สำหรับห้องสมุดดิจิทัล ทักษะด้านเครือข่าย ทั้งเครือข่ายภายใน และเครือข่ายภายนอก ทักษะการสื่อสารระหว่างบุคคล เพื่อใช้ติดต่อระหว่างผู้ให้บริการและผู้รับบริการ

การวางแผนโครงการ กำหนดเป้าหมาย ระบุผู้ใช้ ระบุขอบเขตและเนื้อหา (scope and content) ประเมิน collection ต้นแหล่ง (source collection) ลิขสิทธิ์ Copyright รูปแบบและขนาด Format and size ระดับของดรรชนี Level of indexing ประมาณ ระยะเวลา Timeframe ค่าใช้จ่าย cost

Content/Collection คุณภาพ Quality ค่าใช้จ่ายในการจัดหาและการจดทะเบียน Cost of acquisition/licensing ค่าใช้จ่ายในการแปลงทรัพยากรให้อยู่ในรูปดิจิทัลและการบำรุงรักษา Costs of digitization and maintenance

Digital Collection E-journals E-books Electronic databases Newspapers Full-text articles Reference materials ทรัพยากรดิจิทัลที่ได้รับการแปลงมา Conversion from printed materials

การแปลงทรัพยากรให้เป็นทรัพยากรดิจิทัล การใช้หน่วยงานภายในห้องสมุด : ต้องคำนึงถึง ความพร้อมด้านงบประมาณดำเนินการ ความพร้อมด้านบุคลากร สถานที่ในการปฏิบัติงาน เครื่องมือ อุปกรณ์ที่ใช้ในการดำเนินงาน การใช้หน่วยงานภายนอก : โดยการจ้างงานจากภายนอก ซึ่งใช้ผู้ที่มีความรู้และประสบการณ์เป็นผู้ดำเนินงาน

การใช้บริการจากหน่วยงานภายใน ข้อดี บุคลากรได้เรียนรู้ในขณะที่ปฏิบัติงาน การควบคุมคุณภาพของการแปลงทรัพยากรให้เป็นดิจิทัลได้ทุกขึ้นตอน การรักษาความปลอดภัยและการจัดเก็บวัสดุต้นฉบับ ข้อจำกัด การสิ้นเปลืองงบประมาณและเวลา ข้อจำกัดด้านความเชี่ยวชาญของบุคลากร ไม่สามารถกำหนดค่าใช้จ่ายในลักษณะราคาต่อภาพ

การใช้บริการจากภายนอก ข้อดี ห้องสมุดสามารถควบคุมค่าใช้จ่ายในการแปลงทรัพยากรต้นฉบับให้เป็นดิจิทัล โดยกำหนดค่าใช้จ่ายในลักษณะราคาต่อภาพ ดำเนินการได้รวดเร็ว ในเวลาที่จำกัด ห้องสมุดไม่ต้องรับผิดชอบต่อความเสี่ยงเรื่องความล้าสมัยของเทคโนโลยี ข้อจำกัด บุคลากรไม่ได้เรียนรู้และพัฒนาทักษะจากการปฏิบัติงาน ไม่สามารถควบคุมคุณภาพได้ทุกขั้นตอน ใช้วเลาในการติดต่อสื่อสารและต่อรองราคา หน่วยงานอาจไม่มีประสบการณ์ ในการทำงานกับห้องสมุด ความไม่มั่นคงของหน่วยงานภายนอก ปัญหาการขนส่งและจัดเก็บวัสดุต้นแหล่ง

เกณฑ์การพิจารณาเลือกใช้บริการจากภายนอก ความสามารถในการดำเนินงานของหน่วยงานภายนอก ความปลอดภัยของทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัลและการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัล ทักษะของบุคลากรของหน่วยงานภายนอกในการจัดการกับวัสดุต้นแหล่ง หรือการแปลงเป็นดิจิทัล การจัดการทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัลภายหลังการแปลงให้เป็นดิจิทัล การคิดค่าบริการในการแปลงให้เป็นดิจิทัล ลักษณะทางกายภาพของวัสดุต้นแหล่ง ระยะเวลาทั้งของกระบวนการทำงาน การเตรียมวัสดุต้นแหล่งก่อนการแปลงให้เป็นดิจิทัล ข้อกำหนดด้านเทคนิค เช่นคุณภาพของภาพดิจิทัล และสื่อที่ใช้จัดเก็บ

การพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัล Digitization Acquisition Hypertext การสร้างทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัลจากทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดโดยการแปลงให้เป็นดิจิทัล (Digitization) และ การพิมพ์ข้อมูลขึ้นมาใหม่ (Re-keying) การสร้างทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัลโดยการจัดหางานดิจิทัลต้นฉบับ (Original digital works) ที่ผลิตโดยสำนักพิมพ์หรือนักวิชาการ เช่นวารสารอิเล็กทรอนิกส์ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ฯลฯ การนำเทคโนโลยีไฮเปอร์เท็กซ์มาประยุกต์ใช้ เพื่อเชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์ของห้องสมุดต่างๆ หรือเครื่องแม่ข่ายของสำนักพิมพ์ต่างๆ เพื่อเพิ่มช่องทางในการเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศ

การสร้างทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัลของห้องสมุด การคัดเลือกวัสดุต้นแหล่ง การสร้างข้อมูลให้อยู่ในรูปดิจิทัล การลงรายการทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัล

การคัดเลือกวัสดุต้นแหล่งเพื่อแปลงให้เป็นดิจิทัล วัสดุตีพิมพ์และต้นฉบับตัวเขียน ภาพถ่าย แผนที่/ภาพเขียน สิ่งทอ วัสดุสามมิติ สไลด์ วัสดุย่อส่วน เทปบันทึกเสียง เทปบันทึกภาพ เป็นต้น

เกณฑ์การคัดเลือกวัสดุต้นแหล่งเพื่อแปลงให้เป็นดิจิทัลของห้องสมุด เป้าหมายและวัตถุประสงค์ของโครงการห้องสมุดดิจิทัล ผู้ใช้บริการ : ความต้องการในการใช้งานของผู้ใช้ ทรัพยากรหรือวัสดุต้นแหล่งที่มีอยู่ในองค์กร คุณค่าของทรัพยากร เช่น ทรัพยากรหายาก ลักษณะทางกายภาพของทรัพยากร : ส่งผลต่อการแปลงให้เป็นดิจิทัล เช่นวัสดุต้นแหล่งที่มีขนาดใหญ่ หรือวัสดุที่เป็น 3 มิติ คุณภาพของวัสดุต้นแหล่ง ส่งผลต่อการกำหนดระดับความละเอียดในการสแกน ขนาดของแฟ้มข้อมูล ตลอดจนสื่อที่ใช้ในการจัดเก็บ ลิขสิทธิ์ ต้องไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ หรือขออนุญาตจากเจ้าของสิทธิ์ในการจัดทำและเผยแพร่ทรัพยากรดิจิทัล

การสร้างทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัล การใช้คอมพิวเตอร์โดยตรง (Born digitally) การสร้างข้อมูลดิจิทัลจากเครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรง ทำได้ง่ายและสะดวก แต่จะทำได้เฉพาะข้อมูลที่อยู่ในรุปของข้อความหรือภาพกราฟิกเท่านั้น การแปลงให้เป็นดิจิทัล (Digitization) การแปลงภาพซึ่งสร้างขึ้นด้วยวิธีการแบบดั้งเดิม ใช้สแกนเนอร์ หรือเครื่องมือในการแปลงให้เป็นดิจิทัลอื่นๆ เช่น กล้องถ่ายภาพดิจิทัล

Digitalization Image Text Digitize using scanner Scan as image Scan followed by OCR digitize using digital camera Edit images Edit images Edit text Compress images Compress images

อุปกรณ์ที่ต้องการ Equipment needed อุปกรณ์การแปลง Conversion devices ซอฟท์แวร์ที่ใช้ในการแปลงและการแก้ไข Conversion and editing software อุปกรณ์การจัดเก็บ Storage devices อุปกรณ์การแสดงผล Display devices อุปกรณ์แสดงผลลัพธ์ Output devices

การลงรายการทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัล ผู้พัฒนาห้องสมุดดิจิทัลต้องกำหนดมาตรฐาน Metadata เพื่อใช้ในการพรรณานาทรัพยากรดิจิทัล MARC Dublin Core Metadata

ลิขสิทธิ์ / การจดทะเบียน Copyright/licensing เรื่องที่เกี่ยวกับลิขสิทธิ์ Copyright issues ลิขสิทธิ์กับการใช้ Copyright versus fair use ข้อตกลงของการจดทะเบียนLicensing agreement Licensing Digital Library: A resource for librarian http://www.library.yale.edu/~llicense/index.shtml Online resources for software and database license review http://www.utsystem.edu/ogc/intellectualproperty/contract.htm

SLA WI October

SLA WI October

Special Collection Types Maps Music Videos Graphical items objects ความต้องการอื่นๆ Special requirements for conversion ส่วนเสริม A supplement not a substitute

ตัวอย่างของการใช้รูปแบบอื่นๆ Example of using different formats American Memory Viewer Information http://memory.loc.gov/ammem/amviewer.html

SLA WI October

การจัดเก็บ Storage การแปลงไฟล์ file conversion การบีบอัด Compression การบีบอัดแบบสูญเสียบางส่วน Lossy compression การบีบอัดแบบสมบูรณ์ Lossless compression streaming technology vs. discrete files

การจัดระบบ Organization การจัดทำดรรชนี Indexing Text indexing Image indexing Multimedia indexing Multiple language documents indexing การจัดทำ Metadata http://dublincore.org/documents/2003/02/04/dces/

SLA WI October

การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ Design an interface การพัฒนาโดยใช้ โปรแกรมที่มี Develop an in-house application เช่น DreamWeaver ซื้อ digital management program เช่น CONTENTdm or Luna Insight http://www.oclc.org/contentdm/ http://www.lunaimaging.com/insight/softwaresuite.html ใช้ open source digital library software เช่น Greenstone or DLXS http://www.greenstone.org/cgi-bin/library http://www.dlxs.org/about/aboutdlxs.html

SLA WI October

SLA WI October

SLA WI October

SLA WI October

SLA WI October

การแจกจ่ายทรัพยากรดิจิทัล Distribution Media Internet Intranet ระดับองค์กร Organizational level International National State Individual organization

การเข้าถึงทรัพยากรดิจิทัล Access การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ Interface design ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และคอมพิวเตอร์ HCI (Human-computer interaction) การใช้งาน usability การค้นคืนสารสนเทศ Information retrieval Interactive information retrieval Natural language retrieval Non text retrieval บริการอ้างอิง Reference service พร้อมกัน Synchronous service ไม่พร้อมกัน Asynchronous service

บริการ Services ประเภทของผู้ใช้ Types of patrons ประเภทของบริการTypes of services บริการการค้น Search services บริการอ้างอิง Reference services บริการการค้นหา Routing services คำแนะนำ Instruction

เทคโนโลยีที่จำเป็น Technology Requisites Computer hardware High-speed networking Security Interoperability

ความท้าทายทางวัฒนธรรมและเศรษฐกิจ Culture & Economic Challenges มาตรฐานทางวัฒนธรรม cultural standardization vs. การเสริมสร้างการแสดงออกความคิดของปัจเจกบุคคล empowering individual expression ทรัพย์สินทางปัญญา intellectual property rights ความปลอดภัยของข้อมูลและผู้มีสิทธิในสารสนเทศ information security and authority ค่าใช้จ่าย Costs

บทบาทของนักสารสนเทศ The role of information professionals ผู้ให้บริการ Service provider นักออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ของระบบ System interface designer ผู้เปิดประตูของยุคอิเล็กทรอนิกส์ Gatekeeper of the electronic age ตัวกลางระหว่างผู้ใช้และผู้ออกแบบระบบMediator between users and system designers SLA WI October

Chart Gallery 1 2004 2005 65% 10% 15% 25% Data A Data C Data B Data D

Chart Gallery2 1st Qtr 2nd Qtr 3rd Qtr 4th Qtr 25% 35% 50% 70%

Chart Gallery3 Add your text Add your text here

Chart gallery 4 Your Text here Add your text here

Chart gallery 5 Digitization Acquisition Hypertext การสร้างทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัลจากทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดโดยการแปลงให้เป็นดิจิทัล (Digitization) และ การพิมพ์ข้อมูลขึ้นมาใหม่ (Re-keying) การสร้างทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัลโดยการจัดหางานดิจิทัลต้นฉบับ (Original digital works) ที่ผลิตโดยสำนักพิมพ์หรือนักวิชาการ เช่นวารสารอิเล็กทรอนิกส์ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ฯลฯ การนำเทคโนโลยีไฮเปอร์เท็กซ์มาประยุกต์ใช้ เพื่อเชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์ของห้องสมุดต่างๆ หรือเครื่องแม่ข่ายของสำนักพิมพ์ต่างๆ เพื่อเพิ่มช่องทางในการเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศ

Chart gallery 6 President Team 1 Team 2 text text 1 text 2 text 3