โครงการระบบบริหารจัดการสารเคมี คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์
Advertisements

ระบบอินเทอร์เน็ตในโรงเรียน
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาขอมีหรือเลื่อนวิทยฐานะ
การเตรียมข้อมูลขึ้น web ธนิษฐา ชุ่มปัก. 1. พิมพ์ข้อมูลเกียรติประวัติและรางวัลดีเด่น.
ยินดีต้อนรับ.
สำนักบริหารงานวิรัชกิจ
การสัมมนาการจัดการความรู้ในองค์การ(KM) ครั้งที่ 6
การพัฒนาระบบการจัดการลูกค้าสัมพันธ์ สำหรับมหาวิทยาลัยขอนแก่น
ระบบการจัดการสอบ เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์
ระบบการจัดการสอบ เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์
ผลดำเนินการปีงบประมาณ 2553
กลุ่มที่ 1 สถาบันที่มี IBC
ระบบคลังสินค้านม Milk Warehouse System
รายชื่อผู้ศึกษาดูงาน
แนวทางการรายงานผลการ ดำเนินการ ตั้วบ่งชี้ที่ สกอ
สารสนเทศ ด้านการจัดการเรียน-การสอน
หน่วยส่งเสริมและพัฒนาทางวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
การป้อนข้อมูลใน Access จะทำผ่านฟอร์ม
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน รุ่นที่ รุ่นที่ 11 – 14
ศูนย์รักษาความปลอดภัยและการจัดจราจรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การนำเสนอโครงการพัฒนาคุณภาพงาน ในฝ่ายการพัสดุ
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน
รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น
คณะอนุกรรมการการบริหารจัดการด้านขยะและ ของเสียอันตรายจากห้องปฏิบัติการ
โครงการ “ การพัฒนากลุ่ม งานวิจัยในเครือข่าย อุดมศึกษาจังหวัดนครราชสีมา ” ปี 2549 ( วันที่ 12 กรกฎาคม 2549 ) ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา.
“ลูกค้าสัมพันธ์” ก้าวใหม่ในการบริการห้องสมุด
การวิจัยเชิงวิทยาศาสตร์ และการประยุกต์ใช้สู่การเรียนการสอน
โปรแกรมการทดสอบวัดความสามารถพื้นฐาน ทางการเรียนของนักศึกษา
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ปัญหาที่นำสู่การพัฒนา
STAFFS อาจารย์ แพทย์ใช้ทุน เจ้าหน้าที่ Ph.D. (9) M.Sc. (3)
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
ยินดีต้อนรับคณะเยี่ยมชื่นชม
พบปะสนทนา บุคลากร คณะวิศวกรรมศาสตร์
ผลการประเมินการดำเนินงาน 46
การศึกษาเปรียบเทียบระบบการแจ้งซ่อมเครื่องคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาปี 2553 A Comparative.
โครงการฝึกอบรม ผ่าน Web Online สำนักงานคลังจังหวัดสงขลา
ผู้เชี่ยวชาญด้านโปรแกรมระบบบัญชีสหกรณ์
กำหนดงานพัฒนาคุณภาพที่จะสร้างระบบช่วยกันในเครือข่าย
การบริหาร และการจัดการเพื่อลดความเสี่ยง ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
การประชุมกลุ่มย่อย Agriculture Sector. ประเด็นเพื่อระดมสมอง 1. หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง กับการนำ GHS ไปปฏิบัติ กรมวิชาการเกษตร กรมประมง กรมปศุสัตว์
สิบคำถามยอดฮิต สำนักงานงบประมาณ.
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
นายสันติ วิจักขณาลัญฉ์ นายไพโรจน์ เติมเตชาติพงศ์
งานธุรการ กองการบริหารงานบุคคล
ความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร ในการทำวิจัยR to R
การบริหารสำนักงาน ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
สมาชิกกลุ่มที่ 1 นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ตัวอย่าง ระบบคลังหนังสือ (Book Stock System)
คณะกรรมการประกันคุณภาพฯ วจ.
ระบบบริหารงานวิจัยแห่งชาติ
IM I-4 การวัด วิเคราะห์ performance ขององค์กร และการจัดการความรู้
ระบบสารสนเทศ เพื่อการสื่อสาร
การบริหารวิชาการและการเรียนการสอน
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
แผนผังบุคลากรงานบริหารงานทั่วไป
การพัฒนาระบบบริหารจัดการเรียนรู้ ด้วยมูเดิ้ล ในโรงเรียนสังกัดกองกำกับการตำรวจ ตระเวนชายแดนที่ 44 การพัฒนาระบบบริหารจัดการเรียนรู้ ด้วยมูเดิ้ล ในโรงเรียนสังกัดกองกำกับการตำรวจ.
ฝ่ายประกัน คุณภาพ (Quality Assurance Department).
ประชุมคณาจารย์คณะครุศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 19 มิถุนายน 2557
Nanotechnology Cluster ภาคใต้ 1 โครงการพัฒนา นักวิจัยไทย ด้านวิทยาศาสตร์ เคมี และเภสัช ภาคใต้ ระยะที่ 2 แผน 5 ปี ( )
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
โครงการวิจัย เรื่อง การศึกษาการบริหารจัดการขยะและเทคโนโลยีที่เหมาะสมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน.
 เพื่อเป็นการธำรงคุณภาพของงานด้านเภสัชกรรม ตามที่มีการวางระบบไว้และเป็นโอกาสพัฒนางาน ด้านเภสัชกรรมด้านต่างๆสำหรับเภสัชกรที่ หมุนเวียนมารับหน้าที่
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
สรุปภารกิจของฝ่ายสารสนเทศ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ผศ. ดร. พีรพงษ์ บุญสวัสดิ์กุลชัย.
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
สำนักสารนิเทศ กระทรวงสาธารณสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการระบบบริหารจัดการสารเคมี คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ที่ปรึกษา: รศ.ดร. พิสมัย กุลกาญจนาธร ทีมงาน: บรมพจน์ พฤฒิวนาสัณฑ์ ประดิษฐา รัตนวิจิตร์ สุรินทร์ อยู่ยง รักษิณีย์ คำมานิตย์ กาญจนา ทิมอ่ำ ดวงใจ จันทร์ต้น อุบลวรรณ บุญเปล่ง ดุษณี ธนฐิติพงศ์ นันทวรรณ จินากุล รัตนา นาคสง่า วิไลวรรณ ทองใบน้อย กวีวุฒิ กนกแก้ว กฤษณะ พรมดวงศรี

ปัญหาในการทำงานปัจจุบัน ปริมาณสารเคมี มากเกินกว่า 3,000 ขวด เภสัชจุลชีววิทยา เภสัชอุตสาหกรรม เภสัชกรรม เภสัชเคมี เภสัชพฤกษศาสตร์ เภสัชวินิจฉัย หน่วยพัสดุ เภสัชวิทยา สรีรวิทยา ชีวเคมี หน่วยปฏิบัติการมาตรฐาน วิจัยกลาง อาหารเคมี

ปัญหาในการทำงานปัจจุบัน ปัญหาในการดูแลจำนวนสารเคมี ไม่ทราบจำนวนคงเหลือที่แน่นอน ไม่ทราบวันหมดอายุ ไม่ทราบข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมี การสั่งสารเคมีที่ซ้ำซ้อนกัน การเพิ่มจำนวนและการสะสมสารเคมีที่หมดอายุ นำระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการบริหารจัดการจำนวนสารเคมี (ระบบฐานข้อมูลสารเคมี)

การดำเนินโครงการวิจัย R2R รายละเอียดกิจกรรม 2553 2554 มี.ค.-เม.ย. พ.ค.-มิ.ย. ก.ค.-ส.ค. ก.ย.-ต.ค. พ.ย.-ธ.ค. ม.ค.-ก.พ. สำรวจปัญหาและความต้องการของนักวิจัย นักวิทยาศาสตร์ และเจ้าหน้าที่วิจัยของการใช้งานระบบฐานข้อมูลบริหารจัดการจำนวนสารเคมี   คัดเลือกเครื่องมือเพื่อพัฒนาระบบฐานข้อมูลสารเคมีและพัฒนาโปรแกรม จัดอบรมการใช้งานระบบฐานข้อมูลสารเคมีแก่นักวิทยาศาสตร์และทดสอบการใช้งานเบื้องต้น เปิดทดลองใช้งานระบบฐานข้อมูลสารเคมีแก่ผู้ใช้งานทั่วไป ประเมินผลความพึงพอใจของโครงการ สรุปและเขียนรายงาน

ระบบฐานข้อมูลสารเคมี Computer-based application Need an expert programmer Inflexible to access Need an installation of software for all computer

ระบบฐานข้อมูลสารเคมี Web-based application / Webpage generator Flexible to access (Internet access) Additional software does not needed Compatible to Tablet PC or smart phone Real time updating +

RESULT FROM R2R

e-Chemical Database on-line (ECDB)

Real time chemical stock

Label and Memorize

Searching chemical

อบรมการใช้งานระบบฐานข้อมูล 28 เมษายน 2553

จำนวนคงเหลือสารเคมี

ขั้นตอนของระบบบริหารจัดการสารเคมี ภาควิชา/หน่วยงานเบิกสารเคมี 1 ลงบันทึกในฐานข้อมูล 2 จัดเก็บสารเคมี 3 แปะฉลากบนขวดสารเคมี

ระบบการขอยืม/ขอใช้สารเคมี

การประเมินผลระบบฐานข้อมูล Technician ระบบสามารถใช้แก้ไขปัญหาการบริหารจำนวนสารเคมีได้ มีความพึงพอใจต่อการใช้งานระบบฐานข้อมูลดี ต้องการให้มีการประชาสัมพันธ์ระบบฐานข้อมูลในรูปแบบที่เป็นทางการภายในคณะแก่นักศึกษา นักวิทยาศาสตร์และนักวิจัย

การประเมินผลระบบฐานข้อมูล Researcher / Student ส่วนมากยังไม่ทราบหรือไม่ได้รับการประชาสัมพันธ์เรื่องระบบฐานข้อมูล ผู้ที่เคยใช้งานมีความพึงพอใจต่อการใช้งานระบบฐานข้อมูลดี ต้องการให้มีการประชาสัมพันธ์ระบบฐานข้อมูลในรูปแบบที่เป็นทางการภายในคณะแก่นักศึกษา นักวิทยาศาสตร์และนักวิจัย

สรุปผลการดำเนินงานของโครงการ ได้ระบบฐานข้อมูลเพื่อดูแลจำนวนสารเคมีของหน่วยงาน/ภาควิชา Technician ประจำภาควิชาสามารถใช้งานระบบฐานข้อมูลได้ จำนวนเฉลี่ยผู้ใช้งาน 250 คน ต่อหนึ่งเดือน ลดจำนวนการซื้อสารเคมีที่ซ้ำซ้อน (CHEAPER) ลดระยะเวลาในการใช้ค้นหาสารเคมี (FASTER) ระบบช่วยจำวันที่หมดอายุและสถานที่จัดเก็บของสารเคมี (BETTER) ข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมี (BETTER)

การนำเสนอผลงาน R2R การประชุมวิชาการเครือข่ายบุคลากรสายสนับสุนน คณะเภสัชศาสตร์แห่งประเทศไทย

การนำเสนอผลงาน R2R

THANK YOU

Up coming event E3 Project e-Chemical Stock e-Chemical Waste management e-Chemical Database