งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คณะอนุกรรมการการบริหารจัดการด้านขยะและ ของเสียอันตรายจากห้องปฏิบัติการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คณะอนุกรรมการการบริหารจัดการด้านขยะและ ของเสียอันตรายจากห้องปฏิบัติการ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบริหารจัดการด้านขยะ และ ของเสียอันตรายจากห้องปฏิบัติการ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

2 คณะอนุกรรมการการบริหารจัดการด้านขยะและ ของเสียอันตรายจากห้องปฏิบัติการ
รองศาสตราจารย์ ดร.จุฑามณี สุทธิสีสังข์ อำนวยการ อ. ดร. ปิยนุช โรจน์สง่า ที่ปรึกษา อุบลวรรณ บุญเปล่ง ประธานคณะอนุกรรมการ นันทวรรณ จินากุล อนุกรรมการ กฤษณะ พรมดวงศรี อนุกรรมการ กาญจนา ทิมอ่ำ อนุกรรมการ ดวงใจ จันทร์ต้น อนุกรรมการ ประดิษฐา รัตนวิจิตร์ อนุกรรมการ สุรินทร์ อยู่ยง อนุกรรมการ ทนงศักดิ์ อ่อนหาดพอ อนุกรรมการ กวีวุฒิ กนกแก้ว อนุกรรมการ

3 คณะอนุกรรมการการบริหารจัดการด้านขยะและ ของเสียอันตรายจากห้องปฏิบัติการ
วิไลวรรณ ทองใบน้อย อนุกรรมการ รัตนา นาคสง่า อนุกรรมการ เสาร์ ปรางทิพย์ อนุกรรมการ มลฤดี จันทร์ฉาย อนุกรรมการ อรัญญา ศรีบุศราคัม อนุกรรมการ สุทธิกานต์ ศรไชย อนุกรรมการ สำราญ บัวศรีจันทร์ อนุกรรมการ รักษิณีย์ คำมานิตย์ อนุกรรมการและเลขานุการ

4 การบริหารจัดการด้านขยะและของเสียอันตรายจากห้องปฏิบัติการ 1
การบริหารจัดการด้านขยะและของเสียอันตรายจากห้องปฏิบัติการ 1. ระดมสมองการจัดการด้านขยะ (waste) และของเสียอันตราย (hazardous waste) จากห้องปฏิบัติการ 2. แบ่งประเภทขยะ (waste) และของเสียอันตราย (hazardous waste) จากห้องปฏิบัติการ 3. มีมาตรฐานการปฏิบัติ (SOP) การจัดการของเสียอันตราย ส่งกำจัดของเสียอันตราย (hazardous waste) จัดอบรมการจัดการของเสียอันตราย (hazardous waste) ให้กับนักศึกษาและบุคลากร ภายในคณะฯ

5 การบริหารจัดการด้านขยะและของเสียอันตรายจากห้องปฏิบัติการ 1
การบริหารจัดการด้านขยะและของเสียอันตรายจากห้องปฏิบัติการ 1. ระดมสมองการจัดการด้านขยะ (waste) และของเสียอันตราย (hazardous waste) จากห้องปฏิบัติการ ของเสียอยู่ที่ใดบ้าง

6 จัดเก็บอย่างไร ให้เป็นระบบไม่เกิดอันตราย
ใครเป็นผู้ทำให้เกิดของเสีย มีจุดพัก ที่ใด ฉลากติดขวดเป็นแบบฟอร์มเดียวกัน ของเสียอยู่ที่ใดบ้าง

7 การบริหารจัดการด้านขยะและของเสียอันตรายจากห้องปฏิบัติการ 2
การบริหารจัดการด้านขยะและของเสียอันตรายจากห้องปฏิบัติการ 2. แบ่งประเภทขยะ (waste) และของเสียอันตราย (hazardous waste) จากห้องปฏิบัติการ

8 การบริหารจัดการด้านขยะและของเสียอันตรายจากห้องปฏิบัติการ 3
การบริหารจัดการด้านขยะและของเสียอันตรายจากห้องปฏิบัติการ 3. มีมาตรฐานการปฏิบัติ (SOP) การจัดการของเสียอันตราย 3.1.กำหนดแบบฟอร์มการบันทึก กำหนดปริมาณของเสีย ภาชนะที่บรรจุของเสีย ชื่อผู้ทิ้ง วันเดือนปี ชื่อของเสีย จำนวน กำหนดวันรวบรวมของเสีย กำหนดวันส่งต่อเพื่อการทำลายของเสียอันตรายจากห้องปฏิบัติการ

9 การบริหารจัดการด้านขยะและของเสียอันตรายจากห้องปฏิบัติการ 4
การบริหารจัดการด้านขยะและของเสียอันตรายจากห้องปฏิบัติการ 4. ส่งกำจัดของเสียอันตราย (hazardous waste) 4.1.รวบรวมจำนวนของเสียอันตรายจากห้องปฏิบัติการ แจ้งที่ปรึกษาถึงจำนวนปริมาณของเสีย ติดต่อบริษัทเพื่อนำของเสียกำจัด กำหนดวันเพื่อนำกำจัด

10 การบริหารจัดการด้านขยะและของเสียอันตรายจากห้องปฏิบัติการ 5
การบริหารจัดการด้านขยะและของเสียอันตรายจากห้องปฏิบัติการ 5. จัดอบรมการจัดการของเสียอันตราย (hazardous waste) ให้กับนักศึกษาและบุคลากร ภายในคณะฯ 5.1.เชิญวิทยากร โดยปรึกษากับประธานคณะอนุกรรมการ ประสานงานกับงานเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการเรียนการสอน ประสานงานกับหน่วยอาคารสถานที่ ประสานงานกับงานบัณฑิตศึกษาและการศึกษาหลังปริญญา

11 การบริหารจัดการด้านขยะและของเสียอันตรายจากห้องปฏิบัติการ 5
การบริหารจัดการด้านขยะและของเสียอันตรายจากห้องปฏิบัติการ 5. จัดอบรมการจัดการของเสียอันตราย (hazardous waste) ให้กับนักศึกษาและบุคลากร ภายในคณะฯ 5.1.เชิญวิทยากร โดยปรึกษากับประธานคณะอนุกรรมการ ประสานงานกับงานเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการเรียนการสอน ประสานงานกับหน่วยอาคารสถานที่ ประสานงานกับงานบัณฑิตศึกษาและการศึกษาหลังปริญญา

12 เหตุการณ์การจัดการสารเคมีเนื่องจากภาชนะจัดเก็บรั่วไหล
วันที่ 1 เมษายน 2556 มีกลิ่น สาร Halogen รั่วมีกลิ่นเหม็น วิธีการ กำจัดกลิ่น โดยโรยทราย ทับบริเวณที่รั่ว ก้นปี๊ป แล้วถ่ายใส่ถัง PE นำทราย ทิ้งที่มีอากาศถ่ายเท สารนี้จะระเหย

13 เภสัชเคมี เภสัชกรรม เภสัชวิทยา เภสัชวินิจฉัย ชีวเคมี จุลชีวฯ อุตสาหฯ อาหารเคมี สรีรวิทยา CAP-Q เภสัชพฤกษฯ 612 661 809 22 234 257 108 153 15 7 12 93 6 1


ดาวน์โหลด ppt คณะอนุกรรมการการบริหารจัดการด้านขยะและ ของเสียอันตรายจากห้องปฏิบัติการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google