โครงการพัฒนาคุณภาพงานด้วยแนวคิด Lean

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน้าที่ความรับผิดชอบ
Advertisements

การใช้งานระบบสินค้าคงคลัง
ชื่อโครงการ : เพิ่มประสิทธิภาพงานซ่อมบำรุง
ชื่อกลุ่ม เติมใจให้กัน
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน ประจำปี พ. ศ
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Bai Chak Group ภูมิใจเสนอ.
ของแผนกบริการตำราและห้องสมุด
แผนกบริหารสินค้า (หนังสือไทย) ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กลุ่มเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิชาชีพ: กิจการต่างประเทศ
พัฒนาคุณภาพงานและจดทะเบียนตั้งกลุ่ม รุ่นที่ 1 – 6 (ปีที่ 2)
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
สำนักบริหารงานวิรัชกิจ
บทที่ 14 เครื่องมือและเครื่องทุ่นแรงในงานบัญชี
บทที่ 3 เอกสารทางการบัญชี
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
โครงการพัฒนา (Cross Function) กลุ่ม Tsunami2.
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบงาน
โครงการเพิ่มความคล่องตัวในการนำเข้า และกำกับ KPI สำนักงานของผู้บริหาร
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน รุ่นที่ รุ่นที่ 11 – 14
งานสวัสดิการ ฝ่ายบริหารงานบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรมนุษย์
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบงาน
โครงการการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการข่าวสาร ในสถานการณ์วิกฤติ ฉุกเฉิน และเร่งด่วน โดยกลุ่ม...โบ X 2.
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน
CURADIO FEEDBACK SYSTEM TO PUBLIC
ปรู๊ฟทันใจ โครงการ แผนกลูกค้าสัมพันธ์
ถุงเงิน ถุงทอง.
ที่มาของโครงการ เจ้าหนี้การค้าในประเทศมากกว่า 5 พันราย ซึ่งเดิมจ่ายชำระด้วย CHQ และเปลี่ยนเป็นการจ่ายชำระหนี้เงินโอน 1,970 ราย พบปัญหา เจ้าหนี้เงินโอนสอบถามรายการจ่ายชำระหนี้
เครือข่ายวิชาชีพห้องสมุด
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กลุ่ม รวมพลคนจัดส่ง
ชื่อโครงการ : เพิ่มประสิทธิภาพงานสวัสดิการ
ชื่อกลุ่ม งานเสร็จไว สบายใจลูกค้า
ประเภทโครงการ Cross Function/Lean เครือข่ายวิชาชีพ ทีมบริหารสินค้าต่างประเทศ ทีมบัญชีเจ้าหนี้ต่างประเทศ ทีมขายสาขา ม.นเรศวร ทีมขายสาขา มทส.
แผนกฟิล์มและแม่พิมพ์
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
ชื่อกลุ่ม กลุ่ม 10 ดวงใจแห่งความสำเร็จ
ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โครงการลดความล่าช้าของเอกสารขาย
การจัดซื้อ – จัดจ้าง และสรรหาผู้รับจ้าง
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
ระบบย่อยของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ระบบจัดเก็บค่าน้ำประปา
สถานการณ์ด้านการเงินการคลังจังหวัดกระบี่
บทที่ 7 การบัญชีเกี่ยวกับการจัดซื้อ และการควบคุมสินค้าคงเหลือ
การเริ่มต้นและการวางแผนโครงการ
วงจรการผลิต วงจรของกิจกรรมการวางแผนและควบคุมการผลิต การผลิตและการบริหารสินค้าคงเหลือ ผลิตสินค้า การวางแผนและ ควบคุมการผลิต บริหารสินค้าคงเหลือ.
วงจรรายจ่าย วงจรที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมต่อไปนี้
คอมพิวเตอร์เน็ตเวริ์คเบื้องต้น การจัดการระบบสารสนเทศ
บทที่ 5 แผนภูมิควบคุมสำหรับคุณลักษณะ
ตัวอย่างการประเมินฯ ของกรมสารขัณฑ์
ฟิล์มคุณภาพ แพทย์อ่านถูกต้อง
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
(Transaction Processing Systems)
คือ ระบบบัญชีคอมพิวเตอร์
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
ตัวอย่าง ระบบคลังหนังสือ (Book Stock System)
ผู้รับผิดชอบ นางอรุณรัตน์ ลาธรรม
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
การดำเนินงานประจำปี2557 สท.

ระบบบริการเกรดออนไลน์
กรณีตัวอย่างการจัดซื้อจัดจ้าง
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
เทคโนโลยี สารสนเทศและ การสื่อสาร สามารถนำไป ประยุกต์ในด้าน ต่างๆ.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการคลังท้องถิ่น จังหวัดนครราชสีมา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการพัฒนาคุณภาพงานด้วยแนวคิด Lean Present

จัดทำโดย แผนกพัสดุ ชื่อกลุ่ม OUR PURPOSE โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ใส่ใจทุกงาน บริการทุกท่าน สร้างสรรค์งานพิมพ์) ชื่อกลุ่ม OUR PURPOSE

ที่มา / มูลเหตุจูงใจของโครงการ สืบเนื่องจากโรงพิมพ์แห่งจุฬาฯ ส่งงานพิมพ์ทันกำหนด เวลาที่ผู้รับบริการต้องการได้ 65 % ซึ่งเกิดจากทุกแผนกที่เกี่ยวข้อง ตั้งแต่เริ่มต้นรับงาน วางแผนการผลิต ปรู๊ฟงาน ออกแบบ วางรูปแบบ ทำแม่พิมพ์ พิมพ์ ทำเล่ม จัดส่ง พัสดุก็เป็นแผนกหนึ่งที่เกี่ยวข้อง เนื่องจากกระดาษที่ใช้เป็นวัตถุดิบ ประมาณ 80% มีส่วนกระทบ หรือสนับสนุนงานให้งานเสร็จทันกำหนด จึงเป็นแรงบันดาลใจ ให้คิดปรับปรุงการจัดซื้อ และการเบิกกระดาษให้สะดวก รวดเร็ว ทันความต้องการของแผนกพิมพ์ ด้วยความ ใส่ใจ รับผิดชอบ และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

เป้าหมายและตัวชี้วัด อัตราการเบิกกระดาษให้ทันความต้องการของแผนกพิมพ์ไม่น้อยกว่า 85% ก่อนการพัฒนา ไม่มีข้อมูลเป้าหมายและตัวชี้วัด วิธีการคำนวณ จำนวนครั้งกระดาษแต่ละรายการที่เบิกทันกำหนด x 100 จำนวนครั้งกระดาษทั้งหมดที่ขอเบิก

สรุปผลการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา (ก้างปลา) Root Cause Analysis 1. ระบบคอมพิวเตอร์ของแผนกพัสดุไม่ถูกต้องและไม่เสถียร 2. ระบบการจัดซื้อและตรวจรับของใช้เวลามาก ไม่ทันความต้องการของแผนกพิมพ์ 3. ขาดการวางแผน / สื่อสาร / ประสานงานที่ดี และมีประสิทธิภาพระหว่าง แผนกขาย ลูกค้าสัมพันธ์ ฟิล์มและแม่พิมพ์ พิมพ์ และพัสดุ 4. โปรแกรมระบบคอมพิวเตอร์พัสดุไม่ทันสมัย ไม่รองรับระบบการจองกระดาษของแผนกขาย หรือเปลี่ยนแปลงรายละเอียดกระดาษของแผนกพิมพ์ 5. สถานที่ไม่เพียงพอ - ชั้นเก็บกระดาษเดิมติดตั้งแบบถาวรไม่สามารถปรับระดับตามที่ต้องการได้ ไม่ทันสมัย

สรุปการแก้ไขปรับปรุงที่ได้ดำเนินการ ข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ของแผนกพัสดุไม่ถูกต้อง ไม่เสถียรพัสดุจะแก้ไขข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ทันที 1. ตรวจสอบข้อมูล/ตัวเลขกับทะเบียนกระดาษของแผนกบัญชี 2. กรณียอดยกไป / ยกมาไม่ถูกต้อง ให้ประมวลผลและหาทางแก้ไขร่วมกับพนักงาน IT 3. ดัดแปลง / ปรับรายงาน Material Flow (R3D85) เป็นรายงานจองกระดาษ และการเปลี่ยนแปลงรายละเอียดกระดาษใช้ชั่วคราวก่อน โดยไม่ให้กระทบการทำงานของแผนกขาย / พิมพ์ เพื่อรอของบประมาณใหม่ “โปรแกรมจองกระดาษ”

ตัวอย่างเอกสารดัดแปลง / ปรับระบบจองกระดาษ

ปรับระบบการจัดซื้อตรวจรับของที่ใช้เวลามากให้กระชับและรวดเร็ว 1. กำหนดระยะเวลาจัดซื้อ Lead Time 2. แจ้งจำนวนต่ำ-สูงสุดของกระดาษ MIN-MAX STOCK 3. ทำเอกสาร “การ์ดบันทึกเวลากระบวนการจัดซื้อ”

ตัวอย่างการ์ดบันทึกเวลากระบวนการจัดซื้อ

ข้อมูลวิธีการจัดซื้อกระดาษเฉพาะส่วนเสนอเอกสารภายใน (หลังการปรับปรุง)

การวางแผน / สื่อสาร / ประสานงานระหว่าง แผนกขาย ลูกค้าสัมพันธ์ ฟิล์มและแม่พิมพ์ พิมพ์ และพัสดุ ได้มีการประชุม 3-4 ครั้งถึงปัญหาการเบิกกระดาษไม่ทัน และได้สรุปดังนี้ 1. กรณีเปลี่ยนแปลงกระดาษ แผนกฟิล์มและแม่พิมพ์จะติดต่อแผนกขายเพื่อแจ้งพัสดุ หรือแจ้งพัสดุโดยตรง และผู้บริหารควรขยายผล หรือให้ความสำคัญแนวทางการใช้กระดาษให้ถูกต้องตรงกันในส่วนของชนิด ขนาด ปริมาณ และเวลาให้ทุกฝ่ายสามารถคิดเป็นมาตรฐานเดียวกัน 2. จำกัดการใช้กระดาษพิเศษให้น้อยที่สุด ( ประมาณ 5 รายการ) 3. สรุปสาเหตุการเบิกจ่ายกระดาษไม่ทัน โดยลงบันทึกประจำวันการเบิกจ่ายกระดาษ

ตัวอย่างบันทึกการเบิกจ่ายกระดาษ

สรุปยอดการเบิกจ่าย

สรุปสาเหตุการเบิกกระดาษไม่ทัน

ผลลัพธ์การดำเนินการ ก่อนการปรับปรุง ไม่มีข้อมูลเป้าหมายและตัวชี้วัด ก่อนการปรับปรุง ไม่มีข้อมูลเป้าหมายและตัวชี้วัด ประมาณการเบื้องต้น 80% เป้าหมายการปรับปรุง 85% หลังการปรับปรุง ผลการดำเนินงาน ตั้งแต่ เม.ย. – ก.ย. 54 96.72%

สวัสดี จบการนำเสนอ นำเสนอโดย: นภาลัย วรรณสันทัด / PowerPoint By : มนูญ สุขสด / ประสานงาน : มลฑา ตู้เพ็ชร, นิพนธ์ มั่นจินดา, ณัฐกานต์ ซ้อนใสย์