การบริหารการจัดการพื้นที่จอดรถจราจรในตลาดสามย่าน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Advertisements

ชื่อโครงการ : เพิ่มประสิทธิภาพงานซ่อมบำรุง
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
การเพิ่มประสิทธิภาพ และความปลอดภัยในการบริหารจัดการข้อมูล
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน ประจำปี พ. ศ
บริการข้อมูลออนไลน์จากศูนย์สารสนเทศนานาชาติ
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
แผนกบริหารสินค้า (หนังสือไทย) ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กลุ่มเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิชาชีพ: กิจการต่างประเทศ
พัฒนาคุณภาพงานและจดทะเบียนตั้งกลุ่ม รุ่นที่ 1 – 6 (ปีที่ 2)
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
สำนักบริหารงานวิรัชกิจ
การนำส่งภาษีผ่านระบบอินเทอร์เน็ต
โครงการเพิ่มช่องทางการรับชำระเงินค่าหอพัก
โครงการ ขอเอกสารสำคัญได้ภายใน 1 วัน
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
ประชุมแสดงความคิดเห็น การจัดทำผังแม่บททางกายภาพ
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
โครงการพัฒนา (Cross Function) กลุ่ม Tsunami2.
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบงาน
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
โครงการเพิ่มความคล่องตัวในการนำเข้า และกำกับ KPI สำนักงานของผู้บริหาร
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน รุ่นที่ รุ่นที่ 11 – 14
ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
งานสวัสดิการ ฝ่ายบริหารงานบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรมนุษย์
กลุ่ม CU_REGISTRAR_FB
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบงาน
ศูนย์รักษาความปลอดภัยและการจัดจราจรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน
CURADIO FEEDBACK SYSTEM TO PUBLIC
โครงการ ตรวจเช็คเพื่อความปลอดภัย
สำนักบริหารงานศิลปวัฒนธรรม
“ การเพิ่มประสิทธิภาพการตั้งงบประมาณ หมวดค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ”
โครงการ รับเข้าสินค้า รวดเร็ว ทันใจ มีประสิทธิภาพ
ที่มาของโครงการ เจ้าหนี้การค้าในประเทศมากกว่า 5 พันราย ซึ่งเดิมจ่ายชำระด้วย CHQ และเปลี่ยนเป็นการจ่ายชำระหนี้เงินโอน 1,970 ราย พบปัญหา เจ้าหนี้เงินโอนสอบถามรายการจ่ายชำระหนี้
เครือข่ายวิชาชีพห้องสมุด
หน่วยงาน สำนักงานจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
สรุปผลงานโครงการพัฒนาคุณภาพงานประจำปี พ.ศ. 2554
ชื่อโครงการ : เพิ่มประสิทธิภาพงานสวัสดิการ
ชื่อกลุ่ม งานเสร็จไว สบายใจลูกค้า
โครงการกระบวนการจัดทำสัญญาเพื่อให้ผู้เช่าลงนาม ให้แล้วเสร็จ
โครงการ ถาม-ตอบอัจฉริยะ
หอพักนิสิต สำนักบริหารงานกิจการนิสิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ประเภทโครงการ Cross Function/Lean เครือข่ายวิชาชีพ ทีมบริหารสินค้าต่างประเทศ ทีมบัญชีเจ้าหนี้ต่างประเทศ ทีมขายสาขา ม.นเรศวร ทีมขายสาขา มทส.
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
ชื่อกลุ่ม กลุ่ม 10 ดวงใจแห่งความสำเร็จ
โครงการ ตรวจเช็คเพื่อความปลอดภัย
โครงการ : ลดระยะเวลาเลื่อนขั้นเงินเดือนประจำปี
ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โครงการพัฒนาคุณภาพงานด้วยแนวคิด Lean
โครงการ อบอุ่นใจให้เราดูแล
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
ร้านซ่อม ประกอบคอมพิวเตอร์ (ในและนอกสถานที่)
การนำเทคโนโลยี (วงจรปิด,ระบบ LAN)
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
โครงการ จัดทำระบบบริหารจัดการข้อมูลงานรังวัดเพื่อการชลประทานและแผนที่บัญชีรายชื่อเจ้าของที่ดิน (ร.ว. 43 ก.) เหตุผลความจำเป็น การก่อสร้างโครงการชลประทานมีการจ่ายเงินค่าชดเชย.
เพื่อเพิ่มคุณภาพและความครอบคลุม
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
สำนัก เลขา. ผลการปฏิบัติงาน ประจำเดือนตุลาคม 2548.
การดำเนินงานวัด ความพึงพอใจ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 6 ปี 2551.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี ปี 2556
กลุ่มที่ 4.
ชื่อผลงาน/โครงการพัฒนา นวัตกรรมผ้ายืดมหัศจรรย์
สรุปผลการ ดำเนินงาน 5 สิงหาคม ผลคะแนนความพึงพอใจ ต่อกิจกรรม มีความพึงพอใจ 126 คน คิดเป็น ร้อยละ มีความไม่พึงพอใจ 5 คน คิดเป็น ร้อยละ 3.82.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารการจัดการพื้นที่จอดรถจราจรในตลาดสามย่าน โครงการ การบริหารการจัดการพื้นที่จอดรถจราจรในตลาดสามย่าน

4. ที่มา/มูลเหตุจูงใจของโครงการ ตามที่ สำนักงานจัดการทรัพย์สิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ก่อสร้างอาคารตลาดสามย่านแห่งใหม่ เป็นอาคาร 2 ชั้น 4 ไร่ มีพื้นที่จอดรถประมาณ 120 คัน และเปิดบริการตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน 2551 โดยที่ในแต่ละวันมีผู้มาใช้บริการในตลาดสามย่านแห่งใหม่เป็นจำนวนมาก ทำให้พื้นที่จอดรถของตลาดไม่เพียงพอต่อผู้มาใช้บริการ ผู้มาใช้บริการไม่พึงพอใจด้านการจราจรในตลาดสามย่าน จึงต้องมีการพัฒนาให้บริการที่รวดเร็ว ประทับใจ และจัดหาพื้นที่จอดรถเพิ่มเติมแก่ผู้เช่าและผู้มาใช้บริการ

5. เป้าหมายการพัฒนา 5.1 ให้บริการด้านจราจรในตลาดสามย่านอย่างมีระบบ และมี ประสิทธิภาพ 5.2 ผู้มาใช้บริการเกิดความประทับใจ

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ 5.1 อัตราความพึงพอใจแก่ผู้เช่าและผู้มาใช้บริการด้านการจัด จราจรในตลาดสามย่าน 5.2 ลดระยะเวลาในการหาที่จอดรถ

ขอบเขตของโครงการ ระยะเวลาดำเนินงาน บริหารจัดหาพื้นที่จอดรถโดยรอบตลาดสามย่าน ระยะเวลาดำเนินงาน ระยะเวลาเริ่มต้น วันที่ 1 มกราคม 2554 ถึงวันที่ 31 ตุลาคม 2554 รวม 10 เดือน

ลูกค้าไม่พึงพอใจพื้นที่จอดรถไม่เพียงพอ ป้ายบอกพื้นที่จอดข้างเคียง ที่จอดรถน้อย ที่จอดรถยนต์ 120 คัน การบริการของ พนักงานจัดจราจร ไม่มีใครบอกให้ทำ รถจักรยานยนต์/รถจักรยาน ไม่ได้นับพื้นที่จอดรถว่าง ไม่รู้ว่าต้องทำอะไร ลูกค้าไม่พึงพอใจพื้นที่จอดรถไม่เพียงพอ ไม่เพียงพอ ไม่มีแผนงาน ต้องการจอดรถหน้าบ้าน ไม่มีการตรวจ เช็คจำนวนพนักงาน ชำรุด/ไม่ซ่อมแซม ไม่มีคู่มือการทำงาน กันพื้นที่ให้ลูกค้าหน้าบ้าน อุปกรณ์วิทยุสื่อสาร พนักงานจราจรไม่บอก การบริหารจัดการพื้นที่จอดรถ ของบริษัทจัดจราจร พนักงานจราจรกลัวถูกว่า อาคารพาณิชย์กับพื้นที่จอดรถ

การปรับปรุงแก้ไขที่ได้ดำเนินการ (Action Plane) สาเหตุ การปรับปรุงแก้ไขที่ได้ดำเนินการ พื้นที่จอดรถน้อย จัดหาพื้นที่จอดรถข้างเคียงรองรับ ได้แก่ 1)จอดรถจามจุรี 9 กว่า 800 คัน โดยทำสะพานทางเชื่อมระหว่างอาคารจอดรถกับตลาดสามย่าน 2) พื้นที่จอดรถโดยรอบ U-center 1 -2 2. การบริการของพนักงานไม่ประทับใจ/ไม่รวดเร็ว รู้ว่าพื้นที่จอดรถว่างมีกี่ช่องที่สามารถจอดรถได้ จัดพื้นที่จอดรถให้ลูกค้าภายใน 3 - 5 นาที ตรวจเช็คพนักงานจราจรให้ประจำจุดครบ 3. ไม่มีป้ายบอกทางไปพื้นที่ จอดข้างเคียง ทำป้ายบอกพื้นที่จอดรถข้างเคียง และแผนที่ - แจกแผ่นประชาสัมพันธ์กรณีพื้นที่จอดรถเต็ม

การปรับปรุงแก้ไขที่ได้ดำเนินการ (Action Plane) สาเหตุ การปรับปรุงแก้ไขที่ได้ดำเนินการ 4. อุปกรณ์วิทยุสื่อสารชำรุด/ ไม่เพียงพอ ซ่อมแซม จัดหาอุปกรณ์เพิ่ม 5. อาคารพาณิชย์กันพื้นที่จอดรถ ทำหนังสือแจ้งขอความร่วมมือ ห้ามจองพื้นที่จอดรถหน้าอาคาร 6. การบริหารงานของบริษัทจราจร จัดทำคู่มือ - จัดทำแผนงาน

ความพึงพอใจของผู้เช่า ในการใช้พื้นที่จอดรถ ผลลัพธ์ ความพึงพอใจของผู้เช่า ในการใช้พื้นที่จอดรถ ปี 2553 ปี 2554 ร้อยละ * ความสะดวกในการ จราจร 56.8 70.1 * ความสะดวกในการจอดรถ 55 76.2

ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ในการใช้พื้นที่จอดรถ ผลลัพธ์ ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ในการใช้พื้นที่จอดรถ ปี 2553 ปี 2554 ร้อยละ * ความสะดวกในการ จราจร 66.0 77.5 * ความสะดวกในการจอดรถ 63.4 74.2

ผลลัพธ์ ลดระยะเวลา ในการหาพื้นที่จอดรถ เดิม ปัจจุบัน * ระยะเวลาหาที่จอดรถ 10 – 15 นาที 3 – 5 นาที