เครือข่ายวิชาชีพห้องสมุด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชื่อกลุ่ม เติมใจให้กัน
Advertisements

โครงการ พัฒนาการจัดเก็บและค้นหาเอกสาร ส่วนบริหารกิจการจัตุรัสจามจุรี
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ของแผนกบริการตำราและห้องสมุด
แผนกบริหารสินค้า (หนังสือไทย) ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กลุ่มเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิชาชีพ: กิจการต่างประเทศ
พัฒนาคุณภาพงานและจดทะเบียนตั้งกลุ่ม รุ่นที่ 1 – 6 (ปีที่ 2)
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
สำนักบริหารงานวิรัชกิจ
การนำส่งภาษีผ่านระบบอินเทอร์เน็ต
การยืมหนังสือด้วยตัวเอง (Self-Checkout)
โครงการเพิ่มช่องทางการรับชำระเงินค่าหอพัก
โครงการ ขอเอกสารสำคัญได้ภายใน 1 วัน
ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
หน่วยที่ 4.
ตัวบ่งชี้คุณภาพ สำนักงานอธิการบดี
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
โครงการพัฒนา (Cross Function) กลุ่ม Tsunami2.
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบงาน
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน รุ่นที่ รุ่นที่ 11 – 14
งานสวัสดิการ ฝ่ายบริหารงานบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรมนุษย์
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบงาน
โครงการ รับเข้าสินค้า รวดเร็ว ทันใจ มีประสิทธิภาพ
ที่มาของโครงการ เจ้าหนี้การค้าในประเทศมากกว่า 5 พันราย ซึ่งเดิมจ่ายชำระด้วย CHQ และเปลี่ยนเป็นการจ่ายชำระหนี้เงินโอน 1,970 ราย พบปัญหา เจ้าหนี้เงินโอนสอบถามรายการจ่ายชำระหนี้
ชื่อกลุ่ม งานเสร็จไว สบายใจลูกค้า
โครงการกระบวนการจัดทำสัญญาเพื่อให้ผู้เช่าลงนาม ให้แล้วเสร็จ
ประเภทโครงการ Cross Function/Lean เครือข่ายวิชาชีพ ทีมบริหารสินค้าต่างประเทศ ทีมบัญชีเจ้าหนี้ต่างประเทศ ทีมขายสาขา ม.นเรศวร ทีมขายสาขา มทส.
ชื่อกลุ่ม : ธุรการทั่วไป ประธานกลุ่ม : นางนิสา ศรีสว่าง
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
กลุ่ม อาคาร 2 โครงการ ขอมาจัดไป
ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โครงการพัฒนาคุณภาพงานด้วยแนวคิด Lean
โครงการลดความล่าช้าของเอกสารขาย
การบริหารงานของห้องสมุด
การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การให้บริการยืม-คืนหนังสือ
การประชุมคณะกรรมการพัฒนาตัวบ่งชี้เพื่อการ
การใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาษาไทย
กิจกรรมพัฒนาและประกันคุณภาพงานครั้งที่ 70
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
CS 6: การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ
Good Governance :GG.
นางสาวธันยกานต์ สินปรุ
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
เรื่องการออกแบบฐานข้อมูล
สำนัก เลขา. ผลการปฏิบัติงาน ประจำเดือนตุลาคม 2548.
ปัจจัยแห่ง ความสำเร็จ ประสบการณ์ จริง แหล่งข้อมูล ประกอบด้วย 3 ส่วน.
การบริหารสำนักงาน ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
การตรวจประเมินรับรอง รอบ 2 มาตรฐานงานสุขศึกษา
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
จำนวนห้องสมุดประชาชนมีการ พัฒนาการให้บริการด้วยระบบ ICT เสร็จตามแผนที่กำหนด และเป็นที่ พึงพอใจของผู้ใช้บริการ.
การเขียนข้อเสนอโครงการ
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
โดย อารมณ์ ผิวดำ สพม.38 (สุโขทัย-ตาก)
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
หลักการเขียนโครงการ.
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ตัวชี้วัดผลงาน 1. มีการคณะกรรมการ หรือ คณะอนุกรรมการ.
โครงการบริหารจัดการคลังวัคซีนสำรองเพื่อตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ ๒๕๕๘.
นโยบายการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ความพึงพอใจต่อการมาใช้บริการห้องสมุด
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการคลังท้องถิ่น จังหวัดนครราชสีมา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เครือข่ายวิชาชีพห้องสมุด

กระบวนงานวิเคราะห์และทำรายการ หนังสือใหม่ภาษาไทยออกให้บริการ กระบวนงานที่นำมาพัฒนา กระบวนงานวิเคราะห์และทำรายการ หนังสือใหม่ภาษาไทยออกให้บริการ นำเสนอโดย สุปริญา ลุลิตานนท์ ประธานกลุ่ม

ที่มาของโครงการ หนังสือภาษาไทยมีจำนวนมาก บรรณารักษ์ต้องวิเคราะห์หมวดหมู่เอง ไม่มีข้อมูลสำเร็จรูปให้คัดลอกเหมือนหนังสือภาษาต่างประเทศ บางครั้งผู้ใช้บริการต้องติดต่อบรรณารักษ์จึงจะได้ใช้หนังสือใหม่ที่ต้องการ บรรณารักษ์และพนักงานห้องสมุดต้องทำงานหลายหน้าที่ บรรณารักษ์มีงานกิจกรรมพิเศษที่ได้รับมอบหมายเพิ่มจากงานประจำ การทำรายการหนังสือจะทำรอบละหลายเล่มตามใบส่งหนังสือ ครบแล้วจึงส่งให้งานต่อไป บรรณารักษ์และพนักงานห้องสมุดที่เพิ่งบรรจุใหม่ มีประสบการณ์น้อยในการใช้งานโปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติ บางห้องสมุดยังต้องการพิมพ์บัตรรายการ เขียนบัตรยืม และติดซองบัตร

เป้าประสงค์ ลดระยะเวลารอ ระหว่างการวิเคราะห์หมวดหมู่ทำรายการ กับ การเตรียมตัวเล่มออกให้บริการ สร้างความพึงพอใจแก่ผู้ใช้บริการ ได้ใช้หนังสือใหม่อย่างรวดเร็ว ผู้ใช้สามารถสืบค้นข้อมูลหนังสือจากฐานข้อมูลห้องสมุดได้ครบถ้วน จัดทำคู่มือการทำงานที่มีรายละเอียดขั้นตอนชัดเจน โดยปรับลดขั้นตอนที่ไม่จำเป็นออก บุคลากรใหม่เข้าใจและทำตามได้

เป้าหมายและตัวชี้วัด 1. อัตราการทำหนังสือใหม่แต่ละเล่มเสร็จพร้อมให้บริการ ภายใน 1 วัน โดยมีรอบการทำงานไม่เกิน 10 เล่ม ต่อรอบ เป้าหมาย ร้อยละ 90 หนังสือใหม่ที่ทำรายการเสร็จบันทึกเข้าฐานข้อมูลได้ ครบถ้วนพร้อมให้ผู้ใช้สืบค้นได้ เป้าหมาย ตรวจพบข้อผิดพลาดในการบันทึกข้อมูล ไม่เกิน ร้อยละ 5

VSM ก่อนทำ LEAN (29 ขั้นตอน ใช้เวลา 3 ชม.ครึ่ง/เล่ม)

SIPOC-R

แผนการปรับปรุง

ผลลัพธ์ของการพัฒนา

เหลือ 13 ขั้นตอน ใช้เวลา 1 ชม. 40 นาที

ผลการปรับปรุง ห้องสมุดที่ทำตามกระบวนงานที่ปรับลดขั้นตอนแล้ว สามารถวิเคราะห์และทำรายการหนังสือภาษาไทยออกให้บริการได้เร็วขึ้น คือ ภายใน 1 วัน หรือ เล่มละประมาณ 1 ชั่วโมง ห้องสมุดหลายแห่งจะอนุญาตให้ผู้ใช้ยืมหนังสือที่อยู่ในระหว่างจัดแสดงหนังสือใหม่ได้ ข้อมูลหนังสือใหม่ที่บันทึกเข้าฐานข้อมูลมีความผิดพลาดน้อยลงหลังจากเจ้าหน้าที่เข้ารับการอบรม ห้องสมุดหลายแห่งยกเลิกการพิมพ์บัตรรายการ และทดลองใช้วิธีพิมพ์สันหนังสือแทนการเขียน

ผลลัพท์ตามเครื่องชี้วัดที่กำหนดไว้ จำนวนหนังสือใหม่ภาษาไทยที่นำออกให้บริการ ตัวอย่าง ห้องสมุดคณะวิศวกรรมศาสตร์ เฉลี่ย เล่มละ 1 ชั่วโมง เดือน จำนวนเล่ม ก่อนทำ lean ใช้เวลา หลังทำ lean มีนาคม 64 7-10 เล่ม/วัน 10 วัน เมษายน 5 10-15 เล่ม/วัน 1/2 วัน พฤษภาคม 15 1 1/2 วัน มิถุนายน 41 4 วัน กรกฎาคม 12 1 วัน สิงหาคม 14

งานประสบผลสำเร็จรวดเร็วขึ้น ผู้ใช้บริการเกิดความพึงพอใจมากขึ้น บทเรียนที่ได้รับ งานประสบผลสำเร็จรวดเร็วขึ้น ผู้ใช้บริการเกิดความพึงพอใจมากขึ้น

ปัญหาและอุปสรรค บุคลากรแต่ละคนต้องทำงานหลายหน้าที่ในแต่ละวัน ทำให้งานบางอย่างไม่สามารถทำต่อเนื่องได้ ลักษณะการทำงานของแต่ละห้องสมุดไม่เหมือนกัน บางแห่งยังต้องการทำบัตรรายการเพื่อใช้ในการสำรวจหนังสือประจำปี ห้องสมุดแต่ละสาขาวิชามีนโยบายการจัดซื้อหนังสือภาษาไทยมากน้อยต่างกัน มีผลต่อปริมาณหนังสือที่วิเคราะห์ทำรายการและนำออกให้บริการ

ผู้รับผิดชอบโครงการ