นวัตกรรมการทดสอบความรู้เดิม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
Advertisements

ระบบสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ E-learning วิชาภาษาอังกฤษ 1
สื่อที่สร้างด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
งานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
ศึกษาความพึงพอใจของผู้บริหารและครูต่อสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา โดย เสมา แสนยากร.
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ สาระ ดนตรี เรื่อง การเรียนดนตรีพื้นบ้านของจังหวัดน่าน.
ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อคุณภาพการสอนของครู แผนกสามัญ หมวดพลานามัย ปีการศึกษา 2550 วิธีการวิจัยวัตถุประสงค์ ผลการศึกษา พบว่า โดยรวมนักเรียนมี ความพึงพอใจต่อคุณภาพ.
ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อคุณภาพการสอนของครู
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
ณัฐชนัญ เสริมศรี ผู้วิจัย สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
เข้าร่วมประกวดผลงานวิจัยประเภทการเรียนการสอน
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
งานวิจัย เรื่อง การใช้ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์
นางสาวสุภัทรา สุขวัฒนา วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
ผลการใช้การบูรณาการการ เรียนรู้ ด้วยสมรรถนะรายวิชาและอัต ลักษณ์ผู้เรียน รายวิชาโครงการ โดย นายหิรัณย์ ศุภวนนิมิต ผลงานวิจัย 2557.
ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อคุณภาพการสอนของครู แผนกช่างยนต์ ปีการศึกษา 2550 วิธีการวิจัยวัตถุประสงค์ ผลการศึกษา พบว่า โดยรวมนักเรียนมี ความพึงพอใจต่อคุณภาพ.
1. 2 ปัญหาของการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมล ศรีย่าน  จุดมุ่งหมายของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 กำหนดให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิจัยประเภทการเรียนการสอน
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
นางอัชฌา เพ็งพินิจ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การพัฒนาผลการเรียนรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และความเข้าใจคงทน
ผลงานวิจัย โดย อ. หัสยา วงค์วัน
นายวีระชัย ทะจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
ผู้เสนอ นายทนงศักดิ์ กุลเสนชัย สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
นางสุกัญญา พลรัตนมงคล วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาพิมพ์ดีดไทย 1 โดยใช้แบบฝึกกลุ่มคำสั้น ๆ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 1 โดย นางสุกัญญา พลรัตนมงคล.
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์โดยใช้ชุดการสอน ในรายวิชาสุนทรียศาสตร์เบื้องต้น ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์กราฟิก ผู้วิจัย อาจารย์ปนัดดา วรกานต์ทิ
ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อคุณภาพการสอนของครู แผนกสามัญ หมวดภาษาอังกฤษ ปีการศึกษา 2550 วิธีการวิจัยวัตถุประสงค์ ผลการศึกษา พบว่า โดยรวมนักเรียนมี ความพึงพอใจต่อคุณภาพ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อผู้วิจัย ประชิด เกิดมาก
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ด้วยวิธีทัศน ศึกษาแบบบูรณาการ รายวิชา งานห้องผ้าและ ซักรีด ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 สาขาการโรงแรม.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้บทเรียนมัลติมีเดียแบบ
ผู้วิจัย นางสาววริศรา ไชยโย ผู้วิจัย การพัฒนาชุดฝึกอบรม เรื่อง การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา เอกชน ประเภทอาชีวศึกษา (Development of a Training Package.
ชื่อเรื่องงานวิจัย บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การส่งเสริมการรู้คำศัพท์เพื่อเขียน โปรแกรม Microsoft Visual Basic ชื่อเรื่อง + ชื่อผู้วิจัย + สังกัดวิทยาลัย.
นายวีรพล ยิ้มย่อง สังกัด วิทาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นวัตกรรมการทดสอบความรู้เดิม

นวัตกรรมการทดสอบความรู้เดิม ผลงานวิจัย เรื่อง ผลการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การใช้พจนานุกรม สำหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 The Effect of Using Computer Assisted Instruction on the Use of Thai Dictionary For Mathayomsuksa 1 Students. ชื่อผู้วิจัย นายสุภาพชัย สานุสันต์ Mr.Supapchai Sanusan. ตำแหน่ง ครู ค.ศ. 3 ชำนาญการพิเศษ

นวัตกรรมการทดสอบความรู้เดิม การวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนและ ตรวจสอบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่พัฒนาขึ้น โดยเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ก่อน-หลังเรียน และความพึงพอใจต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย สอน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนท่าแซะรัชดาภิเษก อำเภอท่าแซะ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ชุมพร เขต 1 ปีการศึกษา 2550 ที่เรียนกับ ผู้วิจัย จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบประเมินความ พึงพอใจบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน แบบทดสอบก่อนเรียน และแบบทดสอบหลังเรียน การเก็บรวมรวมข้อมูล โดยผู้วิจัยได้ดำเนินตามแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย (ท 31101) จำนวน 6 ชั่วโมง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการทดสอบ สมมติฐานใช้ t - Test (Dependent Samples) สถิติที่ใช้หาคุณภาพเครื่องมือ ได้แก่ การหา ค่าความตรงตามสูตร IOC และการหาค่าประสิทธิภาพ ( E1 / E2 ) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้

นวัตกรรมการทดสอบความรู้เดิม 1. การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน พบว่า ได้พัฒนานักเรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสูงขึ้น เมื่อพิจารณาถึงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มตัวอย่างทั้ง 30 คน ก่อน เรียนและหลังเรียน จากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 30 คน พบว่า ก่อนการเรียนมีค่าเฉลี่ย คะแนน เท่ากับ 6.63 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.99 หลังเรียน มีค่าเฉลี่ยคะแนน เท่ากับ 11.23 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 1.01 โดยมีค่าเฉลี่ยคะแนนความต่าง เท่ากับ 4.60 2. การตรวจสอบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน พบว่า 2.1 ได้ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ E1 / E2 = 80 / 80 คือ ทดสอบก่อนเรียน 85.67 และทดสอบหลังเรียน 80.67 หรือเท่ากับ 85.67 / 80.67 2.2 กลุ่มตัวอย่างที่เรียนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 2.3 กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในระดับมากที่สุด เท่ากับ 4.74

นวัตกรรมการทดสอบความรู้เดิม ผลงานวิจัย เรื่อง ผลการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การใช้พจนานุกรม สำหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 ได้นำทฤษฎีของ Robert Gagn ในหัวข้อการทดสอบ ความรู้เดิมโดยการทำแบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการใช้พจนานุกรมสำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 การทดสอบก่อนบทเรียน (Pre-test) ซึ่งเป็นการประเมินความรู้ ของผู้เรียน เพื่อทบทวนเนื้อหาเดิม ที่เคยศึกษาผ่านมาแล้ว และเพื่อเตรียมความพร้อม ในการรับเนื้อหาใหม่ นอกจากจะเป็นการตรวจวัดความรู้พื้นฐานแล้วบทเรียนบาง เรื่องอาจใช้ผลจากการทดสอบ ก่อนบทเรียนมาเป็นเกณฑ์จัดระดับความสามารถของ ผู้เรียนเพื่อจัดบทเรียนให้ตอบสนองต่อระดับความสามารถของผู้เรียน เพื่อจัดบทเรียน ให้ตอบสนองต่อระดับความสามารถที่แท้จริงของผู้เรียนแต่ละคน 

จัดทำโดย 1.นายวรพล ช้างลอย 541121805 2.น.ส.วชิราพร แสนยะ 541121808 1.นายวรพล ช้างลอย 541121805 2.น.ส.วชิราพร แสนยะ 541121808 3.นายนพเก้า ขวัญเขียว 541121809 4.นายพชร จิ๋วแก้ว 541121821