ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ E-learning ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
นโยบาย (5-Star Anesthesiology policy) พัฒนาการศึกษาในทุกหลักสูตรของภาควิชาอย่างต่อเนื่อง โดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
พันธกิจ ผลิตและพัฒนาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางวิสัญญีวิทยา และบุคลากรทางด้านวิสัญญีที่มีความรู้ ความสามารถ คุณธรรม เป็นที่ยอมรับในระดับสากล โดยเน้นการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนแพทยศาสตร์บัณฑิต บูรณาการด้านการเรียนการสอน การบริการ และการวิจัยให้มีประสิทธิภาพสูงสุด
KPIs จัดให้มีสื่อการเรียนรู้ที่มีคุณภาพในปริมาณที่เหมาะสม เพื่อให้สามารถค้นคว้าข้อมูลได้ด้วยตนเอง จัดทำสื่อการเรียนการสอน ได้แก่ ตำรา, CAI, e-learning, สิ่งประดิษฐ์, หุ่นจำลองช่วยสอน
E-learning ตั้งแต่ปี 2537 - ปัจจุบัน มีจำนวน 10 เรื่อง ผลิตโดย พ.ศ. 1. Blood Transfusion พญ.ลักษมี ชาญเวชช์ 1 ม.ค. 2537 2. การดูดเสมหะในหลอดลม พญ.จิราภา ไชยบัญดิษฐ์ 1 ก.ค. 2546 3. Airway and Ventilatory Management of the Trauma Victims นพ.ธวัช ชาญชญานนท์ 12 ธ.ค. 2546 4. Combitube & Quicktrach นพ.ชัชชัย ปรีชาไว 19 ม.ค. 2547 5. การใช้เครื่องช่วยหายใจ Bird พญ.สุนิสา ฉัตรมงคลชาติ 1 ส.ค. 2547 6. Laryngeal mask airway (LMA) พญ.นลินี โกวิทวนาวงษ์ 1 ต.ค. 2547
Blood Transfusion (2537)
เรื่อง ผลิตโดย พ.ศ. 7. การประเมินความยากง่ายในการใช้ท่อช่วยหายใจ (Airway assessment for tracheal intubation) พญ.ธิดา เอื้อกฤดาธิการ 5 ม.ค. 2548 8. การให้ออกซิเจนบำบัด (Oxygen Therapy) นพ.วิทยา เลิศวิริยะกุล 4 ม.ค. 2548 9. Pulse oximetry พญ.มลิวัลย์ ออฟูวงศ์ 24 พ.ค. 2548 10. Spinal Block 2552
Spinal Block
New e-learning Intubation Case discussion Preoperative evaluation Acute postoperative pain management Chronic pain management CPR (BLS and ACLS) ATLS Near drowning Postoperative care
สรุปผลการประเมิน e-learning ตอนที่ 1 สถานภาพผู้ตอบแบบสอบถาม นักศึกษาแพทย์ ชั้นปีที่ 4 จำนวน 2 คน (5.7 %) นักศึกษาแพทย์ ชั้นปีที่ 5 จำนวน 25 คน (71.4 %) แพทย์ใช้ทุน ชั้นปีที่ 1 จำนวน 2 คน (5.7 %) แพทย์ใช้ทุน ชั้นปีที่ 2 จำนวน 2 คน (5.7 %) แพทย์ประจำบ้าน ชั้นปีที่ 1 จำนวน 3 คน (8.6 %) แพทย์ประจำบ้าน ชั้นปีที่ 2 จำนวน 1 คน (2.9 %)
สรุปผลการประเมิน e-learning หัวข้อ นศพ. พชท./พจบ ภาควิชามีจำนวนสื่อ e-learning สนับสนุนต่อการเรียนการสอน สื่อ e-learning ของภาควิชาสามารถส่งเสริมการเรียนรู้ของท่าน ความสะดวกในการใช้บริการสื่อ e-learning ของภาควิชา 2.78 ± 0.05 3.26 ± 0.05 3.74 ± 0.05 2.75 ± 0.05
สรุปผลการประเมิน e-learning Blood Transfusion การดูดเสมหะในหลอดลม Airway and Ventilatory Combitube & Quicktrach Bird LMA Airway assessment Oxygen Therapy Pulse oximetry
สรุปผลการประเมิน e-learning Blood Transfusion การดูดเสมหะในหลอดลม Airway and Ventilatory Combitube & Quicktrach Bird LMA Airway assessment Oxygen Therapy Pulse oximetry
สรุปผลการประเมิน e-learning เรื่อง นศพ. พชท./พจบ 1. Blood Transfusion 2. การดูดเสมหะในหลอดลม 3. Airway and Ventilatory 4. Combitube & Quicktrach 5. Bird 6. LMA 7. Airway assessment 8. Oxygen Therapy 9. Pulse oximetry 5 4
Future ทำอย่างไรให้มีการใช้ให้เกิดประสิทธิภาพในการเรียนการสอนให้มากที่สุด เพิ่มจำนวน e-learning ในรูปแบบ courseware e-learning ให้ครบทุกการบรรยาย จัดห้องสมุดการเรียนรู้ในภาควิชาวิสัญญีวิทยา ประเมินผลการใช้งาน e-learning อย่างมีประสิทธิภาพ
Future นำมาใช้ในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิสัญญีพยาบาล ปรับปรุง e-learning บทเรียนเก่าทุก 5 ปี จัดตั้งกรรมการพัฒนา e-learning ของภาควิชา ส่งเสริมให้อาจารย์อบรมหลักสูตร e-learning สร้างงานวิจัยเกี่ยวกับ e-learning
Questions ?
ขอขอบคุณครับ