(นายสุรเชษฐ์ สถิตนิรามัย)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
Advertisements

รายงานผลการดำเนินงาน บริหารจัดการค่าใช้จ่าย
สัดส่วนงบประมาณ (ประจำ, ลงทุน, เหลื่อมปี) คงเหลือ : เบิกจ่าย กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ 30 เมษายน 2552 งบประจำทั้งกระทรวง 57.14% สพฉ % สวรส %
สัดส่วนงบประมาณ (ประจำ, ลงทุน, เหลื่อมปี) คงเหลือ : เบิกจ่าย กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ 30 มิถุนายน 2552 งบประจำทั้งกระทรวง 73.87% สพฉ % สวรส %
สัดส่วนงบประมาณ (ประจำ, ลงทุน, เหลื่อมปี) คงเหลือ : เบิกจ่าย กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ 30 เมษายน 2553 งบประจำทั้งกระทรวง 57.58% สพฉ % สปสช %
งป. ทั้งหมด งป. เบิกจ่าย สวรส. วิท ย์ แพทย์สุขภา พจิต สบ ส. อนา มัย คร.คร. พัฒนฯอย , , ,061.3.
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
Service Plan สาขา NCD.
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
แนวทางการบริหารงบค่าเสื่อม ปีงบประมาณ 2556
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
สำเร็จการศึกษาในเวลา 4 ปี
ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ 2554 (ต.ค ธ.ค. 2553)
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
สถานการณ์การเงินการคลัง
การดำเนินงานพัฒนา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขนาดใหญ่/ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง (รพ.สต./ศสม.) จังหวัดเลย.
วิเคราะห์งบประมาณ ยศ.ทร. งป.56 ในไตรมาสที่2
สัดส่วนงบประมาณ (ประจำ, ลงทุน, เหลื่อมปี) คงเหลือ : เบิกจ่าย กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ 31 กรกฎาคม 2552 งบประจำทั้งกระทรวง 82.38% สพฉ % สวรส %
สัดส่วนงบประมาณ (ประจำ, ลงทุน, เหลื่อมปี) คงเหลือ : เบิกจ่าย กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ 31 มีนาคม 2553 งบประจำทั้งกระทรวง 49.31% สพฉ % สวรส %
1 2 ตามลักษณะ เศรษฐกิจ งบประมา ณ ตาม พ. ร. บ. ( ล้าน บาท ) ได้รับ จัดสรร ( ล้าน บาท ) เบิกจ่าย ร้อย ละ / งบ จัดสร ร สำนัก ชลประทานที่ 13 1,164,64 0,305.
รายงานผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณปี 2556 สำนักการคลังและสินทรัพย์
1 รายงานผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณปี 2556 ณ วันที่ 29 ม.ค สำนักการคลังและสินทรัพย์
สรุปผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ความรู้พื้นฐานการเชื่อมโยงเครือข่าย
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
พล.ต.ต.บุญเลิศ ใจประดิษฐ
รายงานสถานภาพงบประมาณ
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
การบริหารสภาพคล่อง ด้าน การเงินการคลัง รพ. แก่งกระจาน ปีงบประมาณ 2551.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 25 มิถุนายน 2551.
การวิเคราะห์แผนงบลงทุน ปี 2552 และแผนยุทธศาสตร์งบลงทุน ปี
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 สิงหาคม 2551.
งานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2551
โรงพยาบาลแก่งกระจาน วันที่ 30 มิถุนายน 2551
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
เป้าหมายสำคัญของแผนยุทธศาสตร์ ปี 56 แผนงาน เป้าหมาย
สัดส่วนงบประมาณ (ประจำ, ลงทุน, เหลื่อมปี) คงเหลือ : เบิกจ่าย กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ 31 มกราคม 2553 งบประจำทั้งกระทรวง 39.09% สพฉ % สวรส %
สรุปการประชุม เขต 10.
ผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี งบประมาณ พ. ศ.2556 ณ วันที่ 30 กันยายน 2556 หน่วย : ล้านบาท งบประมาณ วงเงิน งบประม าณ ผลการเบิกจ่าย เบิกจ่า ย คงเหลื
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
รายงานผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณปี 2554
สัดส่วนงบประมาณ (ประจำ, ลงทุน, เหลื่อมปี) คงเหลือ : เบิกจ่าย กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ 31 พฤษภาคม 2553 งบประจำทั้งกระทรวง 65.87% สพฉ % สวรส %
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
รายงานผลการ ดำเนินงาน และผลการใช้จ่ายเงิน งบประมาณ ไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2553 “ กลุ่มตรวจสอบภายใน ” โดย นางละเอียด เอี่ยมสุวรรณ รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการกลุ่มตรวจสอบภายใน.
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ธันวาคม 2553 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สรุปผลสัมฤทธิ์ปีการศึกษา 2552 ชั้ น จำนว นสาระการเรียนรู้ นักเรี ยนทค ค. เพิ่มวสพ.พ. ศ.ศ. ดน ตรีง.ง. คอ ม. อ อ. เพิ่ม ป.1ป
สรุปโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ปี 2550
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
ส่วนจัดสรรน้ำและบำรุงรักษา สำนัก ชลประทานที่ 3 วันพุธที่ 30 ตุลาคม พ. ศ ณ ห้องประชุม 1 สำนัก ชลประทานที่ 3 วาระที่ 3.1 : สรุป รายงาน ผลการเบิกจ่าย.
สถานการณ์ 21 & 43 แฟ้ม จังหวัดเลย
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
สาขาโรคมะเร็ง.
วาระประชุม กวป. งานแพทย์แผนไทย 2 ธ.ค โดย วัชรี แก้วสา
โครงการลดปัญหาสุขภาพจากระบบสืบพันธุ์
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
ผลงานการพัฒนาระบบข้อมูล บริการผู้ป่วยนอก และสร้าง เสริมสุขภาพป้องกันโรค OP/PP Individual Data ปี 2556.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ตุลาคม 2553 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
แนวทางการดำเนินงาน แพทย์แผนไทย ปี 57
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
งานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
แผนภูมิแสดงแผนและผลการใช้จ่ายงบประมาณปี 2549 การใช้ จ่าย ( สะสม ) ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค. ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค. ก.ค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

(นายสุรเชษฐ์ สถิตนิรามัย) ยินดีต้อนรับ ท่านผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข เขต 10 (นายสุรเชษฐ์ สถิตนิรามัย) และคณะ 23-24 สิงหาคม 2555 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย

สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ทิศเหนือ ติดตํอกับ สปป.ลาว ทิศตะวันตก ติดตํอกับ เทือกเขาเพชรบูรณ์ อำเภอหลํมเกำ จังหวัดเพชรบูรณ์ อำเภอนครไทยอำเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก ทิศตะวันออก ติดตํอกับ อำเภอสังคม จังหวัดหนองคาย อำเภอน้้าโสม อำเภอสุวรรณคูหา จังหวัดอุดรธานี และอำเภอนาวัง จังหวัดหนองบัวลำภู ทิศใต้ ติดตํอกับอำเภอน้้าหนาว จังหวัดเพชรบูรณ์ อำเภอภูผามำน จังหวัดขอนแกํน และอำเภอศรีบุญเรือง จังหวัดหนองบัวลำภู จ.หนองคาย ปากชม เชียงคาน จ.อุดรธานี ท่าลี่ เมืองเลย นาด้วง นาแห้ว ภูเรือ จ.พิษณุโลก เอราวัณ วังสะพุง ด่านซ้าย การปกครองแบ่งออกเป็น 14 อำเภอ 90 ตำบล 916 หมู่บ้าน 20 ชุมชน 1 เทศบาลเมือง 24 เทศบาลตำบล 75 อบต. 1 อบจ. ภูหลวง หนองหิน จ.หนองบัวลำภู ผาขาว ภูกระดึง จ.ขอนแก่น จ.เพชรบูรณ์

ข้อมูลประชากรจังหวัดเลย จำแนกตามกลุ่มอายุ ปี 2544 เปรียบเทียบ ปี 2554 ข้อมูลประชากรจังหวัดเลย จำแนกตามกลุ่มอายุ ปี 2544 เปรียบเทียบ ปี 2554

โครงสร้างประชากร ปี 2544 เปรียบเทียบ ปี 2554

2 ข้อมูลสถานบริการสาธารณสุข • ขนาดใหญ่ 8 แห่ง ข้อมูลสถานบริการเอกชน 1 ข้อมูลสถานบริการสาธารณสุขภาครัฐ 2 ข้อมูลสถานบริการเอกชน - เวชกรรม 34 แห่ง - พยาบาล 72 แห่ง - เทคนิคการแพทย์ 3 แห่ง - แพทย์แผนไทย 1 แห่ง - สหคลินิก 2 แห่ง - ทันตกรรม 8 แห่ง - ผดุงครรภ์ชั้นสอง 4 แห่ง - กายภาพบำบัด 2 แห่ง - รพ.เอกชน 1 แห่ง รพท. 1 แห่ง • 402 เตียง - รพช. 12 แห่ง • 90 เตียง 1 แห่ง • 60 เตียง 2 แห่ง • 30 เตียง 9 แห่ง - รพ.จิตเวชเลย ราชนครินทร์ - รพ.ค่ายศรีสองรัก รพ.สต. • ขนาดใหญ่ 8 แห่ง • ขนาดกลาง 77 แห่ง • ขนาดเล็ก 42 แห่ง

ขนาดของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ลำดับ อำเภอ รพ.สต.ขนาดเล็ก รพ.สต.ขนาดกลาง รพ.สต.ขนาดใหญ่ รวม 1 เมืองเลย  3 13  3 19 2 นาด้วง 5 เชียงคาน  5 9 14 4 ปากชม  4 6 10 ด่านซ้าย  7 13 นาแห้ว 7 ภูเรือ 8 ท่าลี่ วังสะพุง  2 17 ภูกระดึง  0 11 ภูหลวง 12 ผาขาว  1 เอราวัณ หนองหิน 42 77 127

ข้อมูลบุคลากรด้านสาธารณสุข ทั้งจังหวัด 3,677 คน ข้าราชการ 1,652 คน 44.9 % พนักงานราชการ 37 คน 1.0 % ลูกจ้างประจำ 342 คน 9.3 % ลูกจ้างชั่วคราว 1,646 คน 44.8 % เฉพาะ สสจ.เลย 147 คน ข้าราชการ 110 คน 74.8 % พนักงานราชการ 3 คน 2.1 % ลูกจ้างประจำ 10 คน 6.8 % ลูกจ้างชั่วคราว 24 คน 16.3 %

การเงินการคลังและการบริหาร

สรุปการจัดสรรงบเหมาจ่ายรายหัวล่วงหน้า ปีงบ 2555 หลังปรับลด 5% CUP ก่อนปรับลด 5% หลังปรับลด 5% จำนวนเงินที่ลดลง รพท.เลย 231,669,211.79 213,344,086.31 18,325,125.48 รพช.นาด้วง 22,527,555.03 21,836,773.67 690,781.36 รพช.เชียงคาน 49,263,288.60 47,739,835.91 1,523,452.69 รพช.ปากชม 34,173,894.21 33,019,728.64 1,154,165.57 รพช.นาแห้ว 12,433,031.46 12,192,796.20 240,235.26 รพช.ภูเรือ 21,478,405.32 20,848,949.00 629,456.32 รพช.ท่าลี่ 28,114,679.19 26,970,523.27 1,144,155.92 รพช.วังสะพุง 86,123,736.00 82,864,314.95 3,259,421.05 รพช.ภูกระดึง 41,692,091.36 40,233,796.98 1,458,294.38 รพช.ภูหลวง 21,445,274.08 20,806,903.35 638,370.73 รพช.ผาขาว 35,074,813.92 33,514,077.52 1,560,736.40 รพร.ด่านซ้าย 47,320,627.00 45,433,836.25 1,886,790.75 รพช.เอราวัณ 34,027,517.68 32,684,680.01 1,342,837.67 รวม 665,344,125.64 631,490,302.06 33,853,823.58

รายได้โรงพยาบาลแยกตามสิทธิ ปี 2555 (ต.ค.54-มิ.ย.55) โรงพยาบาล รวมรายได้ค่ารักษา รายได้ UC รายได้ Non UC บาท % รพ.เชียงคาน 33,813,760 100 26,240,205 77.60 7,573,556 22.40 รพ.ผาขาว 27,299,737 24,258,016 88.76 3,041,722 11.14 รพ.ปากชม 27,411,501 23,264,325 84.87 4,147,176 15.13 รพ.เอราวัณ 26,375,767 22,595,611 85.67 3,780,155 14.33 รพ.ท่าลี่ 29,508,799 20,740,781 70.29 8,768,018 29.71 รพ.ภูหลวง 18,389,625 15,311,643 83.26 3,077,982 16.74 รพ.นาด้วง 16,397,064 14,020,942 85.51 2,376,121 14.49 รพ.ภูเรือ 14,956,006 11,634,814 77.79 3,321,192 22.21 รพ.นาแห้ว 8,338,001 6,576,127 78.87 1,761,874 21.13

รายได้โรงพยาบาลแยกตามสิทธิ ปี 2555 (ต.ค.54 - มิ.ย.55) ต่อ โรงพยาบาล รวมรายได้ค่ารักษา รายได้ UC รายได้ Non UC บาท % รพ.เลย 362,853,848 100 203,646,429 56.12 159,207,419 43.88 รพ.วังสะพุง 82,780,706 67,962,908 82.10 14,817,798 17.90 รพร.ด่านซ้าย 45,999,984 34,203,537 74.36 11,796,447 25.64 รพ.ภูกระดึง 31,540,878 25,931,047 82.21 5,609,831 17.79 รวมทั้งจังหวัด 725,665,676 496,386,386 68.40 229,279,290 31.60

รายจ่ายโรงพยาบาลประเภทต่างๆ ปี 2555 (ต.ค.54 - มิ.ย.55) รายจ่ายโรงพยาบาลประเภทต่างๆ ปี 2555 (ต.ค.54 - มิ.ย.55) โรงพยาบาล รายจ่ายทั้งหมด ค่าตอบแทน ยาเวชภัณฑ์&วัสดุการแพทย์ ค่าสาธารณูปโภค บาท % รพ.เชียงคาน 62,959,964 100 10,327,246 16.40 16,367,659 26.00 1,202,942 1.91 รพ.ปากชม 49,471,336 9,256,434 18.71 15,143,716 30.61 955,819 1.93 รพ.นาด้วง 46,004,081 4,318,997 9.39 35.58 2.61 รพ.เอราวัณ 42,233,737 7,200,348 17.05 12,745,390 30.18 607,985 1.44 รพ.ผาขาว 40,359,218 8,022,312 19.88 11,595,017 28.73 784,972 1.94 รพ.ท่าลี่ 33,040,755 4,528,646 13.71 8,996,100 27.23 883,693 2.67 รพ.ภูหลวง 32,546,059 6,346,309 19.50 6,458,834 19.85 613,079 1.88 รพ.ภูเรือ 30,427,007 5,233,455 17.20 6,867,895 22.57 319,485 1.05 รพ.นาแห้ว 19,058,766 4,081,951 21.42 2,063,432 10.83 493,882 2.59

รายจ่ายโรงพยาบาลประเภทต่างๆ ปี 2555 (ต.ค.54 - มิ.ย.55) ต่อ รายจ่ายโรงพยาบาลประเภทต่างๆ ปี 2555 (ต.ค.54 - มิ.ย.55) ต่อ โรงพยาบาล รายจ่ายทั้งหมด ค่าตอบแทน ยาเวชภัณฑ์&วัสดุการแพทย์ ค่าสาธารณูปโภค บาท % รพ.เลย 555,701,218 100 84,338,888 15.18 186,934,213 33.64 14,399,190 2.59 รพ.วังสะพุง 115,328,841 16,593,771 14.39 29,239,468 25.35 1,481,028 1.28 รพร.ด่านซ้าย 74,048,956 10,449,693 14.11 18,827,759 25.43 1,651,857 2.23 รพ.ภูกระดึง 50,217,435 11,850,814 23.60 12,789,057 25.47 812,711 1.62 รวมทั้งจังหวัด 1,151,397,372 182,548,862 15.85 344,396,198 29.91 25,409,584 2.21

จำนวนเงินที่หน่วยบริการได้รับแยกระดับหน่วยบริการ จำนวนเงิน(บาท) ร้อยละ สสจ. 68,147,444.78 9.74 รพท. 203,977,311.22 29.15 รพช. 368,564,443.14 52.68 รพ.สต. 58,948,528.22 8.43 รวม 699,637,727.36 100 หมายเหตุ ไม่รวมงบลงทุนไม่รวมเงินเดือน ไม่รวมเงิน ONTOP

สรุปการเบิกจ่ายงบประมาณ ค่าตอบแทนใช้สอยฯ ปี 2555 สรุปการเบิกจ่ายงบประมาณ ค่าตอบแทนใช้สอยฯ ปี 2555 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย

สรุปการเบิกจ่ายงบประมาณ ค่าตอบแทนใช้สอยฯ ปี 2555 รายการ เงินที่จัดสรร เบิกจ่าย ร้อยละ คงเหลือ 1. งบตาม ยุทธศาสตร์ สป. 7,163,350.00 6,948,161.76 97.00 215,188.24 2. งบโครงการ พิเศษ จาก สป. 1,114,400.00 613,303.00 55.02 501,397.00 3. งบพัฒนา รพ.สต.จาก สป. 16,098,000.00 8,259,117.36 51.27 7,844,882.64 4. งบฟื้นฟูอุทกภัย 9,015,000.00 9,007,433.77 99.92 7,566.23 5. กรมสนับสนุน 3,163,680.00 880,400.00 27.83 2,283,280.00 6. กรมอนามัย 28,260.00 12,830.00 45.40 15,430.00 7. อย. 429,336.00 404,861.50 94.30 24,474.50 รวม 37,012,326.00 26,120,107.39 70.57 10,892,218.61

การเบิกจ่ายงบประมาณภาพรวม เบิกได้ร้อยละ 70 ขณะนี้อยู่ระหว่างเร่งรัดการเบิกจ่ายและตรวจสอบเอกสาร คาดว่า จะเบิกจ่ายแล้วเสร็จ ภายในเดือน สิงหาคม 2555

ความก้าวหน้างบลงทุน สสจ.เลย

1. งบผูกพัน ปี 2554 รายการ วงเงิน เบิกจ่าย ร้อยละ คงเหลือ ครุภัณฑ์ DPL 1. งบผูกพัน ปี 2554 รายการ วงเงิน เบิกจ่าย ร้อยละ คงเหลือ ครุภัณฑ์ DPL 29,856,000 - ตึกผู้ป่วย 144 เตียง (งบ 61,600,000) 12,320000 12,320,000 อาคารพักพยาบาล รพ.เลย 25,780,000 9,435,480 37 16,344,520 รพ.วังสะพุง 22,222,300 4,080,922 18 18,141,378 อาคารผู้ป่วยนอก รพ.หนองหิน 10,200,000

1. งบผูกพัน ปี 2554 (ต่อ) รายการ วงเงิน เบิกจ่าย ร้อยละ คงเหลือ 1. งบผูกพัน ปี 2554 (ต่อ) รายการ วงเงิน เบิกจ่าย ร้อยละ คงเหลือ ก่อสร้าง สอ.ทดแทน (แก่งม่วง,นาแขม) 4,934,000 3,417,955 69 1,516,645 ปรับโฉมบริการ ด้านหน้า (ผาขาว/ด่านซ้าย) 320,000 216,250 68 103,750 รวม 105,632,300 17,150,607 16 88,481,693 รายการปรับโฉมบริการด้านหน้า จะเบิกจ่ายเสร็จสิ้นภายใน เดือน กันยายน 2555 ส่วนรายการอื่น ๆ จะขอก่อหนี้ผูกพันข้ามปี และได้มีการวางใบ PO แล้วทั้งหมด

2. งบครุภัณฑ์ก่อสร้าง ปี 2555 รายการ วงเงิน เบิกจ่าย ร้อยละ คงเหลือ ครุภัณฑ์รพ.สต. ขนาดใหญ่ 315,000 222,700 70.7 92,300 ครุภัณฑ์ศูนย์สุขภาพ ชุมชนกุดป่อง 1,302,630 188,000 14.4 1,114,630 *ครุภัณฑ์ รพช.ใหม่ (หนองหิน) 3,596,000 1,260,010 35.0 2,335,990 ระบบไฟฟ้า รพ.หนองหิน 1,209,500 527,210 43.6 682,290 * ระบบประปา 2,000,000 - ถนนคอนกรีต 900,000

2. งบครุภัณฑ์ก่อสร้าง ปี 2555(ต่อ) 2. งบครุภัณฑ์ก่อสร้าง ปี 2555(ต่อ) รายการ วงเงิน เบิกจ่าย ร้อยละ คงเหลือ *ปรับปรุงอาคาร สสจ.เลย 500,000 - *อาคาร ผู้ป่วยนอก รพ.วังสะพุง 43,038,500 2,540,800 5.9 40,497,700 รวม 52,861,630 4,738,720 9.0 48,122,910 * หมายถึง รายการที่จะขอก่อหนี้ผูกพันข้ามปี (4 รายการ) และมี 4 รายการ ที่จะเบิกจ่ายงบประมาณเสร็จสิ้น ภายใน ปี 2555

สถานการณ์การเงินการคลัง

อัตราส่วนทุนหมุนเวียน Current Ratio (เท่า) ≥ 1. 5 ในจังหวัดเลย มี 5 รพ

อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว Quick Ratio (เท่า) ≥ 1

อัตราส่วนเงินสดต่อหนี้สินหมุนเวียน Cash Ratio (เท่า) ≥ 0

การวิเคราะห์ความเสี่ยงทางการเงินตามดัชนีแสดงฐานะการเงิน 7 ระดับ ในจังหวัดเลย มี 6 รพ. มีความเสี่ยงทางการเงินอยู่ในระดับ 6,7 คือ รพ.ปากชม รพ.นาแห้ว รพ.ภูเรือ รพ.ภูกระดึง รพ.ภูหลวง และ รพ.ด่านซ้าย

การเฝ้าระวังความเสี่ยงทางการเงินรายหน่วยบริการ ระดับความเสี่ยง 7 ระดับ จังหวัดเลย ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2555(ไตรมาส 3) หน่วยบริการ CR QR Cash NWC NI+Depleciation Liquid Index Status Index Survive Risk Scoring 1.เลย,รพท. 1.10 1.09 2.15 8,669,780.71 (9,320,037.37) 1 2 4 2.นาด้วง,รพช. 1.70 1.47 1.76 9,032,663.27 (2,029,186.89) 3.เชียงคาน,รพช. 2.50 2.32 3.28 40,555,130.78 (864,797.55) 4.ปากชม,รพช. 0.75 0.35 (0.04) (6081840.79) (8,209,075.58) 3 7 5.นาแห้ว,รพช. 1.32 0.37 (0.87) 1,681,279.20 (2,118,662.96) 6 6.ภูเรือ,รพช. 0.82 0.41 (0.42) (1,697,228.03) (1,860,567.52) 7.ท่าลี่,รพช. 2.57 2.10 2.01 19,405,799.13 12,595,091.18 8.วังสะพุง,รพช. 2.21 1.38 1.31 42,106,515.60 15,129,668.44 9.กระดึง,รพช. 1.05 0.43 (1.67) 921,061.59 (2,935,072.67) 10.ภูหลวง,รพช. 0.11 (0.30) (11,963,391.08) (4,009,359.78) 11.ผาขาว,รพช. 2.16 1.60 16,407,380.09 5,640,270.79 12.ด่านซ้าย,รพร. 0.50 (0.70) (5,010,761.07) (6,078,501.18) 13.เอราวัณ,รพช. 1.48 1.12 1.16 10,175,131.38 20,373.04

ระบบบริการ SERVICE PLAN

การจัดระดับสถานบริการ ของจังหวัดเลยตาม SERVICE PLAN ระดับตติยภูมิ จำนวน 1 แห่ง (รพท.เลย 402 เตียง) รพช. แม่ข่าย(M2) ระดับทุติยภูมิ (รพช.แม่ข่าย) (รพร.ด่านซ้าย 60 เตียง) ระดับทุติยภูมิ (รพช.ขนาดใหญ่) จำนวน 1 แห่ง (รพ.วังสะพุง 90 เตียง) รพช. ใหญ่ (F1) ระดับสถานบริการ ระดับทุติยภูมิ (รพช.ขนาดกลาง) จำนวน 10 แห่ง (รพ.ภูกระดึง (60 เตียง) รพ.เชียงคาน ท่าลี่ ปากชม ภูเรือ นาแห้ว นาด้วง ผาขาว ภูหลวง เอราวัณ (30 เตียง) รพช. กลาง (F2) รพช. เล็ก (F3) ระดับทุติยภูมิ (รพช.ขนาดเล็ก) จำนวน 1 แห่ง (รพ.หนองหิน 10 เตียง) ระดับปฐมภูมิ จำนวน 127 แห่ง ขนาดใหญ่ 8 แห่ง ขนาดกลาง 77 แห่ง ขนาดเล็ก 42 แห่ง ศสม.เมือง (P1) รพ.สต. (P2) รพ.เลย (2 แห่ง) 30

แผนยกระดับ/พัฒนาศักยภาพบริการสุขภาพ จังหวัดเลย แผนยกระดับ/พัฒนาศักยภาพบริการสุขภาพ จังหวัดเลย -รพ.วังสะพุง ระดับ F1 ปี 2559 ยกระดับเป็น M2 -รพ.เชียงคาน ระดับ F2 ปี 2559 ยกระดับเป็น M2 -รพ.หนองหิน ระดับ F3 ปี 2557 ยกระดับเป็น F2 ปากคาด F2 โซ่พิสัย

แผนความต้องการเตียงของ รพ.ในจังหวัดเลย โรงพยาบาล ประชากร จำนวนเตียงปัจจุบัน ปี พ.ศ. รวมเตียงทั้งหมด 2556 2557 2558 2559 2560 เลย 119,607 402 24 58 484 ด่านซ้าย 50,619 60 วังสะพุง 110,243 90 30 120 เชียงคาน 59676 หนองหิน 24196 - ปากชม 39,541 นาด้วง 25,695 นาแห้ว 11,247 ภูเรือ 21253 ท่าลี่ 27,476 ภูกระดึง 33,936 ภูหลวง 23,824 ผาขาว 41,032 เอราวัณ 34,200 รวม 622,545 882 54 1,124 จำนวนเตียง ต่อ ประชากร ปี 2556 (882 เตียง) = 1 : 706 ปี 2560 (1,024 เตียง) = 1 : 608

แผนสนับสนุนทรัพยากร (สิ่งก่อสร้างและครุภัณฑ์) รายการ ปีงบประมาณ รวม 2557 2558 2559 สิ่งก่อสร้าง 412,320,400 11,049,800 28,227,500 451,597,700 ครุภัณฑ์ (รพ.) 67,709,700 12,148,000 2,838,000 82,695,700 ครุภัณฑ์ (รพ.สต.) 1,401,600 20,148,000 21,462,000 55,626,000 รวมทั้งหมด 481,431,700 43,345,800 52,527,500 589,919,400

แผนสนับสนุนบุคลากร (อัตรากำลัง 22 สายงาน) ควรมี มีอยู่ ขาด แผนเพิ่มบุคลากร 2556 2557 2558 2559 2560 แพทย์ 249 96 153 27 36 30 41 33 ทันตแพทย์ 79 37 42 9 8 เภสัชกร 94 58 5 6 13 พยาบาลวิชาชีพ 1,189 1,018 171 23 40 56 12 นักเทคนิคการแพทย์ 28 2 3 นักกายภาพบำบัด 46 22 24 4 นักรังสีการแพทย์ 1 นักกิจกรรมบำบัด นักจิตวิทยาคลินิก 10 นักเวชศาสตร์สื่อความหมาย นักการแพทย์แผนไทย 26 20 นักวิชาการสาธารณสุข 281 265 18 นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ นักวิชาการทันตสาธารณสุข 16 จพ. เวฃกิจฉุกเฉิน 67 19 48

การดำเนินงานพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล

แสดงจำนวนโรงพยาบาลที่ได้รับการรับรองคุณภาพโรงพยาบาลตามลำดับขั้น

แสดงสถานการณ์การรับรองคุณภาพโรงพยาบาลตามลำดับขั้น แยกรายโรงพยาบาล ธำรงขั้น2 ในปี 55 ยกระดับสู่ขั้น2 ในปี 55

แสดงผลการประเมินคุณภาพงานบริหารการพยาบาลตามมาตรฐานการพยาบาลในโรงพยาบาล พ.ศ. 2550 เป้าหมายสถานบริการทุกแห่งต้องผ่านเกณฑ์ประเมิน≥ ร้อยละ 50

เครือข่าย พัฒนาคุณภาพการพยาบาล เครือข่ายพัฒนาคุณภาพห้องปฏิบัติการฯ กระบวนการพัฒนา เครือข่าย พัฒนาคุณภาพการพยาบาล ประเมินและพัฒนาคุณภาพการพยาบาลภายในโรงพยาบาล เชื่อมโยงมาตรฐาน HA พัฒนารูปแบบการดูแลต่อเนื่อง (COC) การบริหารยา ระดับการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล ทุกแห่งอยู่ในระดับ ๒ เครือข่ายพัฒนาคุณภาพห้องปฏิบัติการฯ พัฒนาสู่การรับรอง LA อยู่ระหว่างรอผลการรับรอง(รพ.เชียงคาน และผาขาว) ได้รับการรับรองLA ได้แก่ รพ.เลย รพ.เอราวัณ เครือข่ายวิชาชีพ (ทันตแพทย์ เภสัชกร ) มีการประชุมสม่ำเสมอ เครือข่ายเภสัชกรเชื่อมโยงประเด็นสู่ drug safety เครือข่ายทันตแพทย์มีการประเมินคลินิก ทันตกรรมคุณภาพการดูแลรักษาและเชื่อมโยงกับมาตรฐาน HA

เครือข่าย การดูแลผู้ป่วย(palliative ,CA,NB) กระบวนการพัฒนา เครือข่ายส่งต่อ พัฒนาแนวทางการส่งต่อผู้ป่วย/ประชุมวิชาการทบทวนผู้ป่วย พัฒนาระบบสารสนเทศ (Refer link) เครือข่าย การดูแลผู้ป่วย(palliative ,CA,NB) รพ.เลย เป็นแม่ข่าย ออกแบบและเชื่อมโยงระบบการดูแลผู้ป่วยกับโรงพยาบาลชุมชน เครือข่าย IC/ จ่ายกลาง พัฒนาคู่มือการดำเนินงาน IC ระดับจังหวัด อยู่ระหว่างการหารือการทำศูนย์ sterile เครื่องมือประเภทเครื่องยาง การพัฒนาในรูปแบบเครือข่ายช่วยในการพัฒนาและออกแบบระงานที่สำคัญตามมาตรฐานมาตรฐานHA ตอนทื่ II ระบบงานสำคัญของรพ. และตอนที่ III กระบวนการดูแลผู้ป่วย

กระบวนการพัฒนา วิชาการ เครือข่าย จุดเน้น พี่ช่วยน้อง เพื่อนช่วยเพื่อน เชื่อมโยงการพัฒนาระหว่างเครือข่ายวิชาชีพ วิชาการ - อบรมการบริหาร ความเสี่ยงเบื้องต้นในโรงพยาบาล -อบรมทักษะการเป็น ผู้เยี่ยมสำรวจภายใน -อบรมการประยุกต์ใช้มาตรฐานLA .การควบคุมคุณภาพเครื่องมือ รวบรวมเรื่องเล่า,CQI สู่เครือข่าย R2R จุดเน้น คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพระดับจังหวัดร่วมเยี่ยมเรียนรู้ รพ. ความเข้มแข็งของ ผู้ประสานงานคุณภาพรพ./แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ปีงบประมาณ 2555 กระตุ้นการพัฒนาในรูปแบบเครือข่ายพี่ช่วยน้อง เพื่อนช่วยเพื่อน ด้านเครือข่ายวิชาชีพเชื่อมโยงการพัฒนาระบบร่วมกัน ระหว่างเครือข่ายการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล กับเครือข่ายเภสัชกร เครือข่ายพัฒนาคุณภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ และ เครือข่ายส่งต่อ มุ่งประเด็น patient safty (lean&seamless)สนับสนุนวิชาการจัดอบรมการบริหารความเสี่ยงเบื้องต้นในโรงพยาบาล(อบรม ๑๓-๑๔ ก.พ. ๕๕ โดยวิทยากรสรพ.),ทักษะการเป็นผู้เยี่ยมสำรวจภายในโรงพยาบาล (มีนาคม ๒๕๕๕) เพื่อพัฒนาทีมนำและทีมคร่อมสายงานให้สามารถเยี่ยมหน่วยงานและให้คำแนะนำได้ด้วยความมั่นใจ และแต่งตั้งทีมพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลระดับจังหวัดในการร่วมเยี่ยมเรียนรู้โรงพยาบาลเพื่อให้เกิดความเข้มแข็งของทีมนำ/ผู้ประสานงานคุณภาพ และเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่าง

คุณภาพบริการด้านมาตรฐานความปลอดภัยด้านยาและการใช้ยา

ตารางรายการการใช้ยา 4 กลุ่มของโรงพยาบาลในจังหวัดเลย ยาที่มีการทำ DUE ARBs Statins PPIs COX-2 selective inhibitors รพ.เลย Candesartan (NED) Pravastatin Lansoprazole Celecoxib, Etoricoxib(NED) รพร.ด่านซ้าย มี Losartan (ED) รายการเดียว Atorvastatin มี Omeprazole(ED) รายการเดียว ไม่มีรายการยาในกลุ่มนี้ รพ.ท่าลี่ รพ.วังสะพุง มี simvastatin(ED) รายการเดียว รพ.เชียงคาน รพ.นาแห้ว รพ.ภูหลวง รพ.ภูกระดึง รพ.นาด้วง ไม่มีรายการยากลุ่มนี้ในบัญชีรพ. รพ.ปากชม รพ.ผาขาว รพ.ภูเรือ รพ.เอราวัณ

ตารางเปรียบเทียบมูลค่าการใช้ยาจังหวัดเลย ลำดับ กลุ่มยา มูลค่าการใช้ยา มูลค่าการใช้/เดือน มูลค่าลดลง ลด/เพิ่ม ก่อนทำ DUE หลังทำ DUE ก่อนทำ หลังทำ 1 ยากลุ่ม Statin 1,564,385 955,835 130,365 106,203 21,462 ลด 18.5% 2 ยากลุ่ม ARBs 2,587,185 1,128,945 215,598 125,438 90,160 ลด 41.82% 3 ยากลุ่ม Selective COX-II inhibitors 1,712,546 617,814 142,712 68,646 74,066 ลด 51.9% 4 ยากลุ่ม PPIs 1,007,265 345,184 83,938 38,353 45,858 ลด 54.31%

สรุป ในปี 2555 การใช้ยานอกบัญชียาหลักฯ (NED) ของยา 4 กลุ่มรวมกัน มูลค่าการใช้ยาลดลงจาก ปี 2554 เท่ากับ 55.6%

การพัฒนาระบบส่งต่อ

ร้อยละการถูกปฏิเสธการส่งต่อผู้ป่วย 4 ระดับ ภาพรวมจังหวัด/เขต เปรียบเทียบปีงบประมาณ 2554 และ 2555 ในรอบ 9 เดือน (ตุลาคม – มิถุนายน ) จากภาพข้างบนจะเห็นได้ว่าในปี 2555 ยังมีการปฏิเสธการส่งต่อทุกระดับ ต้องประสาน รพ.ปลายทางหลายแห่ง ซึ่งสามารถประสาน รพ.ปลายทาง เพื่อรับจาก รพ. ต้นทางสำเร็จทุกราย

การพัฒนาระบบบริการฉุกเฉินทางการแพทย์อย่างเป็นระบบ และได้มาตรฐาน ผู้ป่วยภาวะวิกฤติฉุกเฉิน(สีแดง) มาโรงพยาบาลด้วยระบบ EMS ปี 2555 ร้อยละ 17.45 (ปี 2554 ร้อยละ 10.40) มีการแจ้งเหตุผ่านหมายเลข 1669 ร้อยละ 61.79 ระดับประเทศ 70.10 มีการประชุมคณะทำงานพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน(EMS) จังหวัดเลย จำนวน 6 ครั้ง มีแผนการพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินร่วมกับองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดเลย โดยจัดหารถปฏิบัติการฉุกเฉินระดับ FR จำนวน 30 คัน (เทศบาล/อบต.) มีการมีการฝึกซ้อมแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยอัคคีภัย ในอาคารสูงร่วมกับศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต 12 อุดรธานี

ประสิทธิภาพการบริการด้านการรักษา ส่งเสริมป้องกัน และฟื้นฟู

CMI (Case Mixed Index) ค่า CMI โรงพยาบาล เกณฑ์ CMI ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 (6 เดือน) เลย 1.0-1.4 1.31 1.4 1.5641 สูงกว่าเกณฑ์ วังสะพุง 0.6-0.8 0.6 0.59 0.6223 อยู่ในเกณฑ์ ด่านซ้าย 0.5-0.7 0.68 0.6834 ภูกระดึง 0.54 0.49 0.5722 เอราวัณ 0.4-0.6 0.7655 0.7801 0.7298 เชียงคาน 0.5797 0.724 0.6535 ปากชม 0.5748 0.6326 0.584 ท่าลี่ 0.5241 0.5526 0.571 ภูหลวง 0.5947 0.5233 0.5606 ผาขาว 0.5856 0.5872 0.5597 นาด้วง 0.4589 0.5243 0.511 ภูเรือ 0.4925 0.4914 0.4964 นาแห้ว 0.4614 0.462 0.5022

ค่า CMI กลุ่ม โรงพยาบาลทั่วไป ค่าเฉลี่ยระดับประเทศ = 1.23

ค่า CMI กลุ่ม รพ. 90 เตียง ค่า CMIที่ใช้เป็นฐาน 0.6-0.8

ค่า CMI กลุ่ม รพ. 60 เตียง ค่ากลางประเทศ 0.5-0.7

ค่า CMI กลุ่ม รพ. 30 เตียง ค่ากลางประเทศ 0.4-0.6

ภาพรวมค่าเฉลี่ย OP-visit รพ.สต.นากระเซ็ง อ.ท่าลี่ (0.82) อำเภอ รพ.แม่ข่าย ภาพรวมค่าเฉลี่ย OP-visit หมายเหตุ เมืองเลย เลย 1.69 หน่วยบริการปฐมภูมิผ่านเกณฑ์ OP visit >0.88 จำนวน 126 แห่ง ตกเกณฑ์ 1 แห่ง คือ รพ.สต.นากระเซ็ง อ.ท่าลี่ (0.82) นาด้วง 1.46 เชียงคาน 2.38 ปากชม 3.05 ด่านซ้าย 1.42 นาแห้ว 1.28 ภูเรือ 1.29 ท่าลี่ 1.88 วังสะพุง 2.56 ภูกระดึง 1.86 ภูหลวง 1.63 ผาขาว 1.99 เอราวัณ 1.51 หนองหิน 15.05 รวมทั้งจังหวัด 2.00

งานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง สถานการณ์ โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จังหวัดเลย

อัตราความชุกของโรคDM/HT/DM-HT จังหวัดเลยปี 2552-2555 ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ระดับประเทศ NHES ปี 52 DM= 6.9 ,HT= 21.4 ร้อยละ ที่มา : 21 File /รง.ประจำเดือน DM-HTจังหวัดเลย

อัตราการเกิดโรค DM-HT จังหวัดเลย ปี 2551 – 2555 ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ร้อยละ ที่มา : 21 File /รง.ประจำเดือน DM-HTจังหวัดเลย

กระบวนการสร้างสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ลดภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จังหวัดเลย Acute MI - กำหนดนโยบายเพื่อปรับ พฤติกรรม - ดูแลคนให้มีวิถีชีวิตดี การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย รณรงค์ ประชาสัมพันธ์. ในชุมชน/องค์กร ประชาชน สื่อมวลชน ภาครัฐ อปท. NGO การสนับสนุน/R&D - case manager / system manager/กลุ่มวิชาชีพ/อสม. - ระบบข้อมูล /ระบบรายงาน - บริหารจัดการ - NCD board - วิจัยพัฒนา - KM/R&D - รพท. - รพช. - รพ.สต. - สสอ. - สสจ. 7.1 % คัดกรอง DM/HT 7.2 % คัดกรอง ภาวะแทรกซ้อน 7.3 % ตำบลจัดการ สุขภาพดีวิถีชีวิต ไทย 3. ลดการเกิดโรค - pre DM DM - pre HT HT 2. ลดภาวะแทรกซ้อน - ลดตาบอด - ลด CKD - ลดสูญเสียเท้า 1. ลดตาย 4.% Good Control - DM - HT 5. พฤติกรรม 3อ 2ส 6. หมู่บ้าน/ชุมชน ต้นแบบ/ศูนย์เรียนรู้ สร้างสุขภาพดี วิถีชีวิตไทย ลดโรคไม่ติดต่อ เรื้อรัง ชุมชนเข้มแข็ง - จัดทำ SRM - แผน อปท. - เตรียมกลุ่ม เป้าหมาย - แผนเฝ้าระวัง - มาตรการสังคม - การสื่อสาร รพ.สต. อปท. อสม. แกนนำชุมชน การเฝ้าระวัง/ จัดการโรค - คัดกรองประชาชน - คัดกรองผู้ป่วย - จัดตั้งคลิน DPAC Stroke STEMI รพช. รพศ./รพท. ศูนย์วิชาการกรม Outcome Output Impact

การบริหารจัดการที่เป็นระบบ ผลลัพธ์สุขภาพของประชากรดีขึ้น (System Management) ผลลัพธ์สุขภาพของประชากรดีขึ้น บุคคล ครอบครัว รับรู้ ข่าวสาร ตระหนักในการดูแลตนเอง ชุมชน สร้างนโยบายสุขภาพสาธารณะ สร้างภาพแวดล้อมให้เหมาะสมเอื้อต่อสุขภาพ เสริมพลังชุมชน ระบบสุขภาพ การออกแบบระบบบริการ (กลุ่มปกติ เสี่ยง ป่วย) สนับสนุนการจัดการตนเอง ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ระบบข้อมูล ภาคีเครือข่าย สนับสนุน พร้อมร่วมมือกับชุมชน ทีมสุขภาพ ที่มีความพร้อมและกระตือรือล้น บุคคล ครอบครัว

ผลการดำเนินงาน

ร้อยละของการตรวจคัดกรอง DM–HT จังหวัดเลย ปี 2548 – 2555 ร้อยละ ที่มา : 21 File /รง.ประจำเดือน DM-HTจังหวัดเลย

ร้อยละผลการคัดกรอง DM ,HT จำแนกตามสภาวะสุขภาพ จังหวัดเลย ปี 2552 - 2555 คัดกรอง HT ร้อยละ ร้อยละ คัดกรอง DM ที่มา : 21 File /รง.ประจำเดือน DM-HTจังหวัดเลย

ร้อยละของกลุ่มเสี่ยงสูงป่วยเป็นเบาหวาน ปี 2553 – 2555 เกณฑ์ไม่เกินร้อยละ 5 ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 กลุ่มเสี่ยงสูงทั้งหมด 24,879 26,023 24,629 ผู้ป่วยรายใหม่ 2,995 1602 4,362 ร้อยละ 12.04 6.16 4.13

ร้อยละของกลุ่มเสี่ยงสูงป่วยเป็นความดันโลหิตสูง กลุ่มเสี่ยงสูงทั้งหมด ปี 2553 – 2555 เกณฑ์ไม่เกินร้อยละ 10 ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 กลุ่มเสี่ยงสูงทั้งหมด 37,947 42,089 51,578 ผู้ป่วยรายใหม่ 4,291 2,263 1,339 ร้อยละ 11.31 5.38 2.60

Pt DM Pt HT ร้อยละความครอบคลุมการให้บริการ Secondary Prevention ใน ผู้ป่วย DM,HT จังหวัดเลย ปีงบประมาณ 2553 - 2554 ร้อยละ Pt DM Pt HT ร้อยละ ที่มา : 21 File /รง.ประจำเดือน DM-HTจังหวัดเลย

ร้อยละของผู้ป่วย DM,HT ที่สามารถควบคุมระดับน้ำตาล,ความดันได้ และผล LDL<100 mg% จังหวัดเลย ปี 2553-2555 ร้อยละ Pt HT ร้อยละ Pt DM ที่มา 21 file/รง.ประจำเดือน DM-HT จังหวัดเลย

สัดส่วนของผู้ป่วย DM ,HT ที่มารับการรักษาที่ รพ./รพ.สต. จังหวัดเลย ปี 2554 - 2555 ร้อยละ Pt HT ที่มา : 21 File /รง.ประจำเดือน DM-HTจังหวัดเลย

อัตราเพิ่มของผู้ป่วย DM, HT ที่มารับบริการที่ รพ.สต. โรค ปี 2554 ปี 2555 เพิ่ม(ร้อยละ) DM 4,370 5,337 967 (22.1) HT 3,678 5,568 1,890 (51.4)

ผลลัพธ์การดำเนินงาน KPI ผลงาน (ร้อยละ) ผู้ป่วย DM มีระดับค่าน้ำตาลอยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้ เพิ่มขึ้น 1.01 ผู้ป่วย HT ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ เพิ่มขึ้น 0.54 ผู้ป่วยDM HT ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน DM - ไต 60.13 - ตา 62.88 - เท้า 65.89 HT - ไต 60.04

ผลลัพธ์การดำเนินงาน KPI ผลงาน (ร้อยละ) หมู่บ้าน/ชุมชนต้นแบบสร้างสุขภาพดี วิถีชีวิตไทย เพิ่มเป็น 2 แห่ง/รพ.สต.และไม่น้อยกว่า 1 แห่ง/รพช. 123.97 รพ.สต.ขนาดใหญ่ ผ่านเกณฑ์ตำบลจัดการสุขภาพดี วิถีชีวิตไทย ตามมาตรฐานที่กำหนด ดี = 11.11 ดีมาก = 77.78 ดีเยี่ยม = 11.11 ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน มากกว่าร้อยละ 50 ได้รับยา Streptokinase หรือได้รับการส่งต่อฯ 61.11

เครือข่ายโรคหัวใจ ผู้ป่วย STEMI 72 ราย - ได้รับยา SK 44 ราย( 61.11 %) - ส่งต่อ 3 ราย Door to needdle time ภายใน 30 นาที = 21 ราย - ค่าเฉลี่ย = 40.84 นาที

เครือข่าย Stroke ผู้ป่วย Stroke 311 ราย - Stroke Fast Track 45 ราย - ได้รับThrombolytic Agent 45 ราย : มีภาวะแทรกซ้อนจากยา 3 ราย : เสียชีวิต 2 ราย (โรค=1,Bleed=1) Door to needdle time = 1 ชม.

ปัจจัยแห่งความสำเร็จ มีนโยบายที่ชัดเจน ผู้บริหารให้การสนับสนุน มีงบประมาณในการดำเนินงาน มีทีมงานทุกระดับที่เข้มแข็ง ชุมชน/ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการ ดำเนินงาน

ปัญหา/อุปสรรค ระบบข้อมูล การออกรายงาน การประมวลผล ยังไม่ครบถ้วน นำข้อมูลไปใช้ประโยชน์มีน้อย การตรวจคัดกรองส่วนใหญ่ดำเนินงานในไตรมาส ที่ 3,4 ทำให้ผลงานไม่ได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด และการจัดกิจกรรมบริการลดเสี่ยงในกลุ่มเป้าหมาย ไม่ครอบคลุม การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ยังไม่ครอบคลุม กลุ่มเป้าหมาย และยังไม่มีการติดตามประเมินผล อย่างจริงจัง

ข้อเสนอแนะ พัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูล การติดตามประเมินผล ตรวจสอบ ความถูกต้องของข้อมูล อย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ทุกระดับ ให้สามารถนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการดำเนินงาน เร่งรัดการตรวจคัดกรองDM-HTให้แล้วเสร็จไม่เกินกลางไตรมาส 2 เน้นการดำเนินงานด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ในกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย ให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย และมีการติดตามประเมินผล อย่างจริงจัง / ต่อเนื่อง

แนวทางการพัฒนาในปี 2556 พัฒนาศักยภาพของ จนท.ทุกระดับ พัฒนาระบบข้อมูล พัฒนาระบบการติดตาม กำกับและประเมินผล พัฒนาเครือข่ายโรคหัวใจ หลอดเลือดสมอง พัฒนาระบบส่งต่อ ที่มีประสิทธิภาพ พัฒนา System Manager / Case Manager ระดับอำเภอ ตำบล

การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค และลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค และลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ

การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ

การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ กระบวนการดำเนินงานขับเคลื่อนให้เกิดอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ภาพรวมของจังหวัดผ่านเกณฑ์มาตรฐานอำเภอฯ ผ่านเกณฑ์ ปี 2555 ร้อยละ 85.17 และ SRRT อำเภอผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 100 รพ.สต.ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ด้านระบาดวิทยาโรคติดต่อ 5 มาตรฐาน ร้อยละ 78.78 หมู่บ้าน อสม. เฝ้าระวัง ร้อยละ100 ตำบล SRRT ตำบลเป้าหมาย 127 ทีม ( ร้อยละ 100 ) อำเภอ เป้าหมาย 60% self assessment = 85.17% จังหวัด ประชาชนได้รับการป้องกันโรค และภัยสุขภาพ

การดูแลปัญหาสุขภาพจิต

สถานการณ์อัตราการฆ่าตัวตายจังหวัดเลย ข้อมูลพื้นฐาน/ตัวชี้วัด จำนวนผู้พยายามฆ่าตัวตายได้รับการติดตามดูแลตามเกณฑ์ ปีงบประมาณ 2553 – 2555 ข้อมูลพื้นฐาน/ตัวชี้วัด ปีงบประมาณ 2553 2554 2555 (ตค.54-กค.55) ผู้พยายามทำร้ายตัวเอง 198 202 183 ผู้ทำร้ายตัวเองซ้ำ 3 21 7 อัตราการติดตามดูแล ผู้พยายามฆ่าตัวตาย เป็นไปตามเกณฑ์ 100

ผลการดำเนินงานสุขภาพจิต ปี 2555 ประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องชุมชนเข้มแข็งร่วมแรงร่วมใจหลังภัยน้ำท่วม (28 ก.พ.55) อบรมแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไปใน รพช. ทุกแห่ง เรื่องการวินิจฉัยและรักษาโรคซึมเศร้า(8 ส.ค.55) อบรมพัฒนาสุขภาพจิตครอบครัวบ้านกุดวรรค์ ต.หนองหญ้าปล้อง อ.วังสะพุง จ.เลย (20 เมษายน 55) อบรมหลักสูตร การช่วยเหลือเยียวยาจิตใจ ผู้ประสบภาวะวิกฤติน้ำท่วม (30-31 ก.ค.55) ประชุมเครือข่ายผู้รับผิดชอบงานสุขภาพจิต ชี้แจงแผนการดำเนินงาน แนวทางการคัดกรองและดูแลผู้เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย ผู้มีภาวะซึมเศร้า ภาวะสมองเสื่อม ในผู้สูงอายุ (10 พ.ค.55) ออกนิเทศติดตามงานสุขภาพระดับอำเภอ 14 อำเภอ (28 พ.ค.-18 มิ.ย.55) ประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องสุขภาพจิตผ่านสื่อวิทยุชุมชน(19มิ.ย.55)

การดูแลสุขภาพแม่และเด็กและผู้สูงอายุ

ระบบและกระบวนการพัฒนาโรงพยาบาล ผ่านเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลสายใยรักแห่งแห่งครอบครัวระดับทอง

ผลการดำเนินงาน รพ.สายใยรัก ฯ จังหวัดเลย ปี 2554-2555 ผลลัพธ์ เป้าหมาย ผลงาน 2554 2555 Birth Asphyxia ไม่เกิน 30 /พันการเกิดมีชีพ 14.50 7.23 Low Birth weight ไม่เกินร้อยละ 7 7.68 7.56 อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ร้อยละ 25 44.97 50.96 เด็กแรกเกิด-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 90 99.74 กำลังดำเนินการ มารดาที่อายุต่ำกว่า 20 ปี ไม่เกินร้อยละ 10 16.09 18.72

โรงพยาบาลที่ผ่านโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว ระดับทอง จังหวัดเลย ผ่านการประเมิน หมายเหตุ โรงพยาบาลเลย ระดับทอง ประเมินปี 2551 โรงพยาบาลภูเรือ โรงพยาบาลสมเด็จ พระยุพราชด่านซ้าย โรงพยาบาลเอราวัณ ประเมินปี 2552 โรงพยาบาลผาขาว โรงพยาบาลวังสะพุง โรงพยาบาลเชียงคาน ประเมินปี 2553 โรงพยาบาลท่าลี่ โรงพยาบาลภูหลวง ประเมินปี 2554 โรงพยาบาลนาด้วง กำลังขอรับการประเมิน โรงพยาบาลนาแห้ว โรงพยาบาลปากชม ยังไม่ได้รับการประเมิน โรงพยาบาลภูกระดึง

การจัดตั้งและพัฒนาชมรมผู้สูงอายุ ผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ การจัดตั้งและพัฒนาชมรมผู้สูงอายุ ผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ

ผลการดำเนินงานการจัดตั้งและพัฒนาชมรมผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์ ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ ปี 2553-2555 ตัวชี้วัด หน่วยวัด ผลการดำเนินงาน (ปี) 2553 2554 2555 มีชมรมผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์คุณภาพเพิ่มขึ้น ร้อยละ 6/14 (42.85%) 11/14 (78.57%) ตำบลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวผ่านเกณฑ์ ด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care:LTC) อย่างน้อย 2 ตำบล ตำบล 1 ต.หนองบัว อ.ภูเรือ 100 % ต.วังสะพุง อ.วังสะพุง 100% 2 ต.กุดป่อง อ.เมือง ต.บ้านเพิ่ม อ.ผาขาว

การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข

กระบวนการกำกับดูแลมาตรฐานและ เฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพให้ปราศจาก การปนเปื้อนและเป็นไปตามมาตรฐาน

การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ผลการกำกับดูแลคุณภาพมาตรฐานตามแผนของพื้นที่ ตัวชี้วัด หน่วยนับ ผลงาน ปี 2555 1.การกำกับดูแลมาตรฐานการผลิตและมาตรฐานความปลอดภัย นมโรงเรียน ณ แหล่งผลิต 1.1 ตรวจประเมินสถานที่ผลิตนมโรงเรียน 1.2 เก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์นมโรงเรียน ณ สถานที่ผลิต เพื่อ ตรวจวิเคราะห์คุณภาพมาตรฐาน ครั้ง/ปี 2 ครั้ง 2. ตรวจประเมินสถานที่ผลิตเส้นก๋วยเตี๋ยว ณ แหล่งผลิต 2.1 ตรวจประเมินสถานที่ผลิตเส้นก๋วยเตี๋ยว(แห่งที่ผ่าน/แห่งที่ตรวจ) 2.2 เก็บตัวอย่างผลิตเส้นก๋วยเตี๋ยว ณ สถานที่ผลิต(จำนวนตัวอย่างที่ผ่าน/ตัวอย่างที่เก็บ) 2.3 ตรวจสอบความถูกต้องของการแสดงฉลากผลิตภัณฑ์เส้นก๋วยเตี๋ยว(จำนวนตัวอย่างที่ผ่าน/ตัวอย่างที่เก็บ) แห่ง ตัวอย่าง 0/1 1/1 7/7 3. เฝ้าระวังความปลอดภัยในผลิตภัณฑ์อาหาร

การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ผลการกำกับดูแลคุณภาพมาตรฐานตามแผนของพื้นที่ ตัวชี้วัด หน่วยนับ ผลงาน ปี 2555 3. เฝ้าระวังความปลอดภัยในผลิตภัณฑ์อาหาร ณ สถานที่จำหน่าย 3.1 ร้อยละความปลอดภัยของอาหารจากสารปนเปื้อน และน้ำมันทอดซ้ำ ร้อยละ 99.32 4. การเฝ้าระวังคุณภาพน้ำบริโภค/น้ำแข็ง(ในสภาวะปกติ) 1) ตรวจเฝ้าระวังสถานที่ผลิตน้ำแข็ง - จำนวนสถานที่ตรวจผ่าน/จำนวนสถานที่ที่ตรวจ - ร้อยละตัวอย่างที่ผ่านการตรวจวิเคราะห์ 2) การเฝ้าระวังสถานที่ผลิตน้ำบริโภคในภาชนะบรรจุปิดสนิท 3) การดำเนินการตามกฎหมาย - ร้อยละการดำเนินการหากพบการกระทำผิด 4) รายงานข้อมูลการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำบริโภค(ทุกไตรมาส) แห่ง ครั้ง 11/11 100 46/46 4

การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ผลการกำกับดูแลคุณภาพมาตรฐานตามแผนของพื้นที่ ตัวชี้วัด หน่วยนับ ผลงาน ปี 2555 5. การดำเนินงานที่เป็นปัญหาของจังหวัด 5.1 ความปลอดภัยด้านเครื่องสำอาง - ตรวจแนะนำร้านจำหน่ายเครื่องสำอาง - สุ่มเก็บตัวอย่างเครื่องสำอางกลุ่มเสี่ยงที่มีชื่อไม่ซ้ำกับ เครื่องสำอางที่เคยประกาศและวิเคราะห์ผลแล้ว 6. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ผู้บริโภค แห่ง ตัวอย่าง ครั้ง 79 8 2

กระบวนการพัฒนาสถานประกอบการ เพื่อสุขภาพให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน เพื่อรองรับพระราชบัญญัติ สถานประกอบการเพื่อสุขภาพ

รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน (ข้อมูล ณ เดือน สิงหาคม 2555) การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ สถานประกอบการเพื่อสุขภาพได้คุณภาพมาตรฐาน ตามที่กฎหมายกำหนด รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน (ข้อมูล ณ เดือน สิงหาคม 2555) การดำเนินงาน สถานประกอบการเพื่อสุขภาพในเขตอำเภอเมือง จำนวน 6 แห่ง - สปาเพื่อสุขภาพ จำนวน 4 แห่ง - นวดเพื่อสุขภาพ จำนวน 2 แห่ง 2. อำเภออื่นๆ อยู่ระหว่างสำรวจ 1. แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจประเมินระดับ จังหวัด 2. สำรวจสถานประกอบการที่มีความพร้อมให้ เข้าสู่กระบวนการการพัฒนาเพื่อขอรับรอง มาตรฐาน 3. ประชาสัมพันธ์เชิญชวนผู้ประกอบการให้ยื่น ขอรับการรับรองมาตรฐาน 4. ยังไม่มีสถานประกอบการยื่นขอรับรอง มาตรฐาน

การส่งเสริมการใช้บริการแผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในระบบบริการสุขภาพ

ระบบการส่งเสริมสนับสนุนการให้บริการด้วยการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก

มีจำนวนผู้ป่วยรับบริการด้านการแพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้น รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน/ ตัวชี้วัด ผลการดำเนินงาน(ต.ค.54-มิ.ย.55) ผู้ป่วยนอกได้รับบริการด้านการแพทย์แผน ไทยและหรือการแพทย์ทางเลือก(ไม่น้อย กว่าร้อยละ10) 1. โรงพยาบาลเลย ร้อยละ 3.9 2. โรงพยาบาลชุมชน ร้อยละ 3.9 3. รพ.สต. ร้อยละ 15 2. มูลค่าการใช้ยาแผนไทยในสถานบริการ สาธารณสุข (เกณฑ์ รพศ.ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 2 รพท.ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 5 รพช./รพ.สต. ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 10) 1. โรงพยาบาลเลย ร้อยละ 0.1 2. โรงพยาบาลชุมชน ร้อยละ 0.5 3. รพ.สต. ร้อยละ 1.7

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ 1. การจัดสรรงบที่ได้รับจาก สปสช.มีความล่าช้า ส่งผลกระทบต่อการจัดบริการแพทย์แผนไทยตามแผนและการบริหารจัดการ ด้านการเงินสำหรับจ้างผู้ช่วยแพทย์แผนไทยของหน่วยบริการระดับ รพ.สต. 1. รพท. รพช. รพ.สต. ที่มีศักยภาพในด้านเงินบำรุง ควรจ้างนักการแพทย์แผนไทยเพื่อพัฒนางานแพทย์แผนไทยและสามารถดูแลผู้ป่วยกลุ่มโรคเรื้อรังในชุมชน ลดความแออัดในหน่วยบริการ 2. การสั่งใช้ยาสมุนไพรในหน่วยบริการทุกระดับมีน้อย เนื่องจากขาดความเชื่อมั่น ในประสิทธิภาพของยาสมุนไพรและ ขาดข้อมูลสนับสนุนการใช้ยาสมุนไพร 2. หน่วยบริการที่มีนักการแพทย์แผนไทยปฏิบัติงาน ควรมีงบสนับสนุนเพื่อพัฒนางานด้านการแพทย์แผนไทย 3. CUP ควรจัดหายาสมุนไพรให้ครบอย่างน้อย 20 รายการ เพื่อสนับสนุนให้ รพ.สต. ที่มีนักการแพทย์แผนไทย สามารถสั่งใช้ยาสมุนไพรสำหรับผู้ป่วย

การพัฒนา Datacenter และคุณภาพข้อมูล

การดำเนินการ 1 3 จังหวัดเลย เป็นจังหวัดตัวแทนเขตตรวจราชการที่ 10 ในการพัฒนา Datacenter ซึ่ง สนย. ได้ประชุมชี้แจงนโยบายและเตรียมความพร้อมของระบบ วันที่ 3-4 พ.ค. 55 ประชุมเพื่อเตรียมความพร้อม คณะกรรมการพัฒนาระบบข้อมูล จ.เลย (1 พ.ค. 55) ผู้รับผิดชอบระดับอำเภอ/โรงพยาบาล (16 พ.ค.55, 8 ส.ค. 55) 4 2 แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาคลังข้อมูลด้านการแพทย์ และสุขภาพจังหวัดเลย แจ้งผู้บริหาร ในการประชุม กวป. เดือน พ.ค. 55

การดำเนินการ (ต่อ) 5 6 ประสานงานกับ สนย. เพื่อติดตามความก้าวหน้า ในการดำเนินงานเป็นระยะ ซึ่งมีการอบรมผู้ดูแลระบบ ระดับจังหวัด และการใช้ประโยชน์จากข้อมูล ในเดือนกันยายน 55 เตรียมความพร้อม โครงสร้างพื้นฐาน เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ของหน่วยบริการ และระบบสื่อสารข้อมูล ออกแบบระบบการเชื่อมโยงข้อมูล และคัดเลือกอำเภอที่จะเป็นอำเภอต้นแบบ 3 อำเภอ คือ นาด้วง ผาขาว และเชียงคาน พัฒนาคุณภาพข้อมูล เช่น โครงสร้างให้เป็นตามมาตรฐาน สนย. ความถูกต้องและครบถ้วน ของข้อมูลรายบุคคล แจ้งผลเรื่องคุณภาพข้อมูลผ่านเวปไซต์ สสจ.เลย ทุกเดือน

มุ่งการจัดการฐานข้อมูล ให้มีคุณภาพ (ครบถ้วน ถูกต้อง และทันเวลา) การดำเนินงานต่อไป ใน ปี 56 ปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงาน มุ่งการจัดการฐานข้อมูล ให้มีคุณภาพ (ครบถ้วน ถูกต้อง และทันเวลา) เพื่อรองรับ Datacenter -นโยบายแจ้งล่าช้า -เครื่องมือของ สนย. ที่จัดทำให้ยังไม่ แล้วเสร็จ -ปริมาณข้อมูลบางอย่างยังมีน้อยกว่าความเป็นจริง เช่น EPI ANC PP เป็นต้น

ขอบคุณ