การประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2011 การประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2011
ก่อนจะมาเป็น EdPEx ปีการศึกษา 2549-2552 นำเอาเกณฑ์ PMQA มาเป็นกรอบและแนวทางในการประเมินตนเองของคณะและหน่วยงาน บูรณาการตัวชี้วัด ก.พ.ร. สมศ. สกอ. แผน มข.
สกอ.ประกาศให้สถาบันอุดมศึกษาใช้เกณฑ์ EdPEx
การสร้างและพัฒนาเครือข่ายด้านการประกันคุณภาพ
แยกการประเมิน IQA และ EdPEx ภาควิชาและหน่วยงานเทียบเท่าคณะ แนวทางการพัฒนาในปี 2554 แยกการประเมิน IQA และ EdPEx ภาควิชาและหน่วยงานเทียบเท่าคณะ ทีมผู้ตรวจประเมิน EdPEx KKU IQA สกอ. พ.ค. มิ.ย. กรกฎาคม ส.ค. ก.ย. ต.ค. 22 คณะ 22 คณะ + 22 หน่วยงาน
การจัดทีมคณะกรรมการตรวจประเมิน EdPEx กรรมการทีมที่ 2 กรรมการทีมที่ 1 วิทยาศาสตร์สุขภาพ 7 คณะ กลุ่มคณะวิทย์-เทคโน 10 คณะ EdPEx A B หน่วยงานสนับสนุน 22 หน่วยงาน D คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ 5 คณะ C กรรมการทีมที่ 3 กรรมการทีมที่ 4
กรรมการทีมที่ 1 สิงหาคม 55 กันยายน 55 ทีมกรรมการ 7 คณะ ตุลาคม 55 สร้างทีม WORK สร้างมาตรฐานในการประเมินตามเกณฑ์ EdPEx ของแต่ละกลุ่ม กระบวนการเทียบเคียงผลการดำเนินงาน /แนวปฏิบัติที่ดี การเรียนรู้ร่วมกันระหว่างทีมผู้ตรวจประเมินและผู้ถูกตรวจประเมิน คณะวิชาสามารถตกลงเลือกวันตรวจประเมินร่วมกันกับกรรมการได้ ยืดระยะเวลาการปฏิบัติงาน (site visit 1-2 วัน) การตรวจประเมินเพื่อสะท้อนผลการดำเนินงานตามเกณฑ์ EdPEx การจัดทำรายงานข้อมูลป้อนกลับอย่างรวดเร็วและทันต่อการใช้งาน
สิงหาคม กันยายน ตุลาคม DREAM TEAM ทีมคณะกรรมการ A กลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพ ช่วงเวลา กรรมการผู้เชี่ยวชาญ ประธาน กรรมการ 1.แพทยศาสตร์ สิงหาคม 2.พยาบาลศาสตร์ 3.ทันตแพทยศาสตร์ กันยายน 4.เภสัชศาสตร์ 5.เทคนิคการแพทย์ ตุลาคม 6.สาธารณสุขศาสตร์ 7.สัตวแพทยศาสตร์ กรรมการสนับสนุน/FRESHY/QA อาสา **พัฒนาทีมกรรมการสนับสนุนโดยทีมกรรมการผู้เชี่ยวชาญ (พี่เลี้ยง) กรรมการจะต้องส่ง Report ฉบับสมบูรณ์ ก่อนที่จะตรวจคณะ/หน่วยงานอื่นๆ ต่อไป
ร่าง กำหนดการตรวจประเมิน EdPEx (1 หรือ 2 วัน) วันที่ 1 วันที่ 2 (เน้นการจัดทำ Report) ภาคเช้า พบผู้บริหาร แนะนำทีมตรวจประเมิน สัมภาษณ์ผู้บริหาร สัมภาษณ์บุลากร สัมภาษณ์นักศึกษา ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สรุปผลการประเมินรายหมวด สรุปผลการประเมินหมวด 7 สรุปคะแนนรวม EdPEx บทสรุปผู้บริหาร ภาคบ่าย ตรวจเยี่ยมกระบวนการตามหมวดต่างๆ เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติทีดี ตรวจเยี่ยมหน่วยงาน สรุปผลการตรวจประเมินประจำวัน รายงานผลการประเมิน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้บริหาร บุคลากรและคณะกรรมการประเมิน (อาจจะนัดวันอื่นๆตามสะดวก)
สุดท้ายก็จบที่ ECPE ที่มีชื่อเล่นว่า EdPEX
www.themegallery.com
น้ำหนักคะแนนตามเกณฑ์ EdPEx หมวด 1 การนำองค์กร 120 คะแนน 1.1 การนำองค์กรโดยผู้นำระดับสูง 70 คะแนน 1.2 ธรรมาภิบาล 50 คะแนน หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ 85 คะแนน 2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์ 40 คะแนน 2.2 การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ 45 คะแนน หมวด 3 การมุ่งเน้นลูกค้า 3.1 ความผูกพันของลูกค้า 40 คะแนน 3.2 เสียงของลูกค้า 45 คะแนน
การวิเคราะห์ และการจัดการ ความรู้ 90 คะแนน การมุ่งเน้นผู้ปฏิบัติงาน การวิเคราะห์ และการจัดการ ความรู้ 90 คะแนน หมวด 4 การวัด 4.1 การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการดำเนินการของ องค์การ 45 คะแนน 4.2 การจัดการสารสนเทศและความรู้ 45 คะแนน การมุ่งเน้นผู้ปฏิบัติงาน 85 คะแนน หมวด 5 5.1 ความผูกพันของผู้ปฏิบัติงาน 45 คะแนน 5.2 สภาพแวดล้อมของผู้ปฎิบัติงาน 40 คะแนน การจัดการกระบวนการ หมวด 6 6.1 ระบบงาน 35 คะแนน 6.2 กระบวนการทำงาน 50 คะแนน
คะแนนรวม 1,000 คะแนน หมวด 7 ผลลัพธ์ 450 คะแนน 7.1 ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน 100 คะแนน 7.2 ด้านการมุ่งเน้นลูกค้า 70 คะแนน 7.3 ด้านงบประมาณ การเงินและตลาด 70 คะแนน 7.4 ด้านการมุ่งเน้นผู้ปฏิบัติงาน 70 คะแนน 7.5 ด้านประสิทธิผลขององค์การ 70 คะแนน 7.6 ด้านการนำองค์กร 70 คะแนน คะแนนรวม 1,000 คะแนน
www.themegallery.com
www.themegallery.com
www.themegallery.com
www.themegallery.com
www.themegallery.com
แนวทางพิจารณาระดับคะแนนที่เหมาะสม
8 Bands
รูปแบบของระดับคะแนน กับ การดับเพลิง ขาดการกำหนดเป้าประสงค์ที่ดี กิจกรรม กระบวนการ แก้ปัญหาเฉพาะหน้า ขาดการกำหนดเป้าประสงค์ที่ดี
เน้นการหาทางแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า คลี่คลายสถานการณ์ให้ปกติ ดับเพลิงให้เร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ กำหนดมาตรการในการแก้ไขปัญหา ลดผลกระทบของความเสียหาย ติดตั้งท่อและสายดับเพลิงจำนวนมากขึ้น
รูปแบบของระดับคะแนน กับ การดับเพลิง เริ่มต้นปฏิบัติงานด้วยการใช้กระบวนการที่สามารถทำซ้ำได้ มีการประเมินผล การปรับปรุง เริ่มมีการประสานงานบ้างระหว่างหน่วยงานต่างๆ มีการกำหนดกลยุทธ์และเป้าประสงค์เชิงปริมาณ
ประเมินจุดที่เป็นความเสี่ยงหรือสาเหตุของปัญหา หาทางรับมือ ติดตั้งอุปกรณ์ตรวจจับความร้อนและหัวรดน้ำ เป็นพิเศษ
รูปแบบของระดับคะแนน กับ การดับเพลิง functional กระบวนการที่สามารถทำซ้ำได้ การประเมินผลอย่างสม่ำเสมอเพื่อการปรับปรุง การแบ่งปันความรู้ การประสานงานระหว่างหน่วยงานต่างๆ กระบวนการตอบสนองกลยุทธ์และเป้าประสงค์ที่สำคัญ KM Cluster
เชิงป้องกันการเกิดอัคคีภัยอย่างเป็นระบบมากขึ้น ติดตั้งระบบตรวจจับความร้อนและหัวรดน้ำ เตือนภัยให้ทราบเมื่อระดับอุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้น
กระบวนการที่สามารถทำซ้ำได้ การประเมินผลอย่างสม่ำเสมอ Cross functional กระบวนการที่สามารถทำซ้ำได้ การประเมินผลอย่างสม่ำเสมอ ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงและการปรับปรุง ความร่วมมือกับหน่วยงานอื่น วิเคราะห์ มีนวัตกรรม การแบ่งปันสารสนเทศและความรู้ การทำงานข้ามหน่วยงานมีประสิทธิภาพ การใช้กระบวนการและตัววัดในการติดตามความก้าวหน้าของเป้าประสงค์
ป้องกันที่สาเหตุ ลดโอกาสการเกิดปัญหา เปลี่ยนใช้วัสดุอุปกรณ์ที่ป้องกันไฟ และติดไฟยาก เปลี่ยนมาใช้ของเหลวที่มีน้ำเป็นส่วนประกอบหลักแทนของเหลวไวไฟ ระบบตรวจจับความร้อนและหัวรดน้ำ วิธีการป้องกันเชิงเตือนภัย