งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award) 19 พฤศจิกายน 2551

2 กรอบการนำเสนอ ภาพรวมการประเมินผลตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐปีงบประมาณ พ.ศ. 2552

3 ภาพรวมการประเมินผลตัวชี้วัด การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

4 การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐที่ผ่านมาตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ – 2551 2549 2550 2551 น้ำหนักร้อยละ 5 กำหนดเป็นตัวชี้วัดเลือก (ส่วนราชการเลือกจำนวน 114 ส่วนราชการ ประกอบด้วย 37 กรม 37 จังหวัด และ 40 มหาวิทยาลัย) วัดการดำเนินการแบบMilestone มุ่งเน้นการเรียนรู้และทำเข้าใจเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ น้ำหนักร้อยละ 5 กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ วัดการดำเนินการแบบ Milestone มุ่งเน้นการเรียนรู้และทำเข้าใจเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ วิเคราะห์โอกาสในการปรับปรุง สำหรับส่วนราชการที่ดำเนินการต่อเนื่องจากปีงบประมาณ พ.ศ จัดทำแผนปรับปรุงองค์กร และดำเนินการปรับปรุงองค์กร น้ำหนักร้อยละ 22 กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ วัดผลการประเมินองค์กรในเชิงคุณภาพ มุ่งเน้นการบูรณาการตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาองค์กรนำมาผนวกเข้ากับตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ โดยได้มีการประเมินองค์กรตามแนวทางการบริหารจัดการแบบ “ADLI”

5 วิธีการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 วิธีการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ แนวทางที่ 1 เป็นการดำเนินการตามแนวทางของกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ ซึ่งเป็นภาคบังคับที่ทุกหน่วยงานจะต้องดำเนินการเพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการให้ได้มาตรฐาน แนวทางที่ 2 ภาคสมัครใจเป็นการสมัครขอรับรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ โดยมีหลักเกณฑ์และกลไกที่แตกต่างจากกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552

6 กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ
การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 2552 กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ วัดความสำเร็จของการดำเนินการและผลลัพธ์ของแผนพัฒนาองค์การ มุ่งเน้นให้หน่วยงานปรับปรุงองค์กร ส่งเสริมให้แต่ละหน่วยงานมีความเข้าใจและนำเครื่องมือการบริหารจัดการที่เหมาะสมมาใช้เพื่อปรับปรุงและพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่อง เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน เป็นกรอบการประเมินความสำเร็จของแผนพัฒนาองค์การ ซึ่งถือเป็นกรอบแนวทางในการประเมินองค์กรเบื้องต้น และเป็นแนวทาง “การเปลี่ยนแปลงทีละขั้น”

7 กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐปีงบประมาณ พ.ศ. 2552

8 แนวทางการนำเสนอ ส่วนราชการระดับกรม สถาบันอุดมศึกษา
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 แนวทางการนำเสนอ ส่วนราชการระดับกรม สถาบันอุดมศึกษา ส่วนราชการระดับจังหวัด

9 กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ส่วนราชการระดับกรม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552

10 ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
การประเมินผลตัวชี้วัดที่ 14 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (น้ำหนัก : ร้อยละ 20) ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) 14.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ 12 14.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ในการดำเนินการของส่วนราชการ ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวด 7) 4 14.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 รวม 20

11 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การดำเนินการจัดทำแผนการพัฒนาองค์การ จำนวน 2 แผน ซึ่งแต่ละแผนแบ่งการประเมินผลเป็น 2 ตัวชี้วัดย่อย ดังนี้ 14.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ (น้ำหนักร้อยละ 12) ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) แผนที่ 1 แผนที่ 2 รวม 14.1.1 ร้อยละของการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 4 8 14.1.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ในการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ 2 6 12

12 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) แผนที่ 1 แผนที่ 2 รวม 14.1.1 ร้อยละของการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 4 8 14.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ (น้ำหนักร้อยละ 12) วัดความสำเร็จของการดำเนินงาน โดยตรวจประเมินทุกข้อ ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวดภาคบังคับและหมวดภาคสมัครใจ) การประเมินผล เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ร้อยละของการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 60 70 80 90 100 ค่าคะแนนของแต่ละแผนพิจารณาจากจำนวนข้อที่ผ่านเกณฑ์เทียบกับจำนวนข้อทั้งหมดในแต่ละหมวด แล้วนำผลที่ได้ไปเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนน อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 3.1 และ 3.2

13 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ส่วนราชการจัดทำแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ เป็นรายหมวด จำนวน 2 แผน ส่วนราชการอาจกำหนด Roadmap แผนพัฒนาองค์การ ดังนี้ 14.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ (น้ำหนักร้อยละ 12) ประเภทกรม แผนภาคบังคับ แผนภาคสมัครใจ* กรมนโยบาย หมวด 2 หมวด 1 หรือ 4 กรมบริการ หมวด 3 หมวด 1 หรือ 6 * ข้อแนะนำ 2552 2553 2554 กรมด้าน บริการ นโยบาย 3 6 1 5 2 4

14 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) แผนที่ 1 แผนที่ 2 รวม 14.1.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ในการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ 2 4 14.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ (น้ำหนักร้อยละ 12) ค่าคะแนนของแต่ละแผนฯ พิจารณาวัดความสำเร็จ โดยนำผลการดำเนินงานของแต่ละตัวชี้วัดในแผนพัฒนาองค์กรแต่ละแผนไปเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนนจะได้ค่าคะแนนของแต่ละตัวชี้วัด และนำค่าคะแนนของทุกตัวชี้วัดในแผนฯมาเฉลี่ย อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 4

15 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การประเมินผล เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 14.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์การดำเนินการของส่วนราชการ ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวด 7) 14.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ในการดำเนินการของส่วนราชการ ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวด 7) (น้ำหนักร้อยละ 4) วัดความสำเร็จของการดำเนินงาน โดยนำผลการดำเนินงานของแต่ละตัวชี้วัดในหมวด 7 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานไปเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนน จะได้ค่าคะแนนของแต่ละตัวชี้วัด และนำค่าคะแนนที่ได้ของทุกตัวชี้วัดในหมวด 7 มาเฉลี่ย จะได้ค่าคะแนนของตัวชี้วัดที่ 14.2 อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 3.3

16 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 14.3 แบ่งการประเมินผลเป็น 3 หัวข้อย่อย ดังนี้ 14.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (น้ำหนักร้อยละ 4) การประเมินผล น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานลักษณะสำคัญขององค์กร (15 คำถาม) 6 9 12 15 ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเองหมวด 1-7 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 7 ความครบถ้วนของแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553* (2 แผน) -

17 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การประเมินผล น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานลักษณะสำคัญขององค์กร (15 คำถาม) 6 9 12 15 14.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (น้ำหนักร้อยละ 4) พิจารณาความครบถ้วนสมบูรณ์ในการตอบคำถามจำนวน 15 คำถาม อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 5

18 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การประเมินผล น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเองหมวด 1-7 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 6 7 14.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (น้ำหนักร้อยละ 4) พิจารณาความครบถ้วนสมบูรณ์ของการ การจัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเองหมวด 1-7 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 6 การพิจารณาความครบถ้วนในการประเมินองค์กรด้วยตนเองให้นำแบบฟอร์มที่ 3.1,3.2 และ 3.3 มานับรวมด้วย ดังนั้น จึงหมายความว่าส่วนราชการจะประเมินองค์กรในส่วนของตัวชี้วัดที่ 14.3 นี้ด้วยแบบฟอร์มที่ 6 เพิ่มเติมอีก 4 หมวด (นอกเหนือจากแบบฟอร์มที่ 3) แต่นับความครบถ้วนสมบูรณที่ระดับ 5 เท่ากับ 7 หมวด

19 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การประเมินผล น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ความครบถ้วนของแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ (2 แผน) - 14.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (น้ำหนักร้อยละ 4) พิจารณาความครบถ้วนสมบูรณ์ของแผนพัฒนาองค์การแต่ละแผน กรมด้านนโยบาย ให้ดำเนินการหมวดบังคับ คือ หมวด 4 (หากส่วนราชการเลือกดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ แล้ว ให้ดำเนินการในหมวด 1 แทน) กรมด้านบริการ ให้ดำเนินการหมวดบังคับ คือ หมวด 6 (หากส่วนราชการเลือกดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ แล้ว ให้ดำเนินการในหมวด 1 แทน) กรณีส่วนราชการที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน ในปี งบประมาณ พ.ศ จะต้องจัดทำแผนฯเพิ่มเติมมาด้วย อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 7

20 กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
สถาบันอุดมศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552

21 ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
การประเมินผลตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (น้ำหนัก : ร้อยละ 30) ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) 12.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ 18 12.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ในการดำเนินการของส่วนราชการ ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวด 7) 6 12.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 รวม 30

22 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การดำเนินการจัดทำแผนการพัฒนาองค์การ จำนวน 3 แผน ซึ่งแต่ละแผนแบ่งการประเมินผลเป็น 2 ตัวชี้วัดย่อย ดังนี้ 12.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ (น้ำหนักร้อยละ 18) ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) แผนที่ 1 แผนที่ 2 แผนที่ 3 รวม 12.1.1 ร้อยละของการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 4 12 12.1.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ในการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ 2 6 18

23 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) แผนที่ 1 แผนที่ 2 แผนที่ 3 รวม 12.1.1 ร้อยละของการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 4 12 12.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ (น้ำหนักร้อยละ 18) วัดความสำเร็จของการดำเนินงาน โดยตรวจประเมินทุกข้อ ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวดภาคบังคับ และ หมวดภาคสมัครใจ 2 หมวด) การประเมินผล เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ร้อยละของการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 60 70 80 90 100 ค่าคะแนนของแต่ละแผนพิจารณาจากจำนวนข้อที่ผ่านเกณฑ์เทียบกับจำนวนข้อทั้งหมดในแต่ละหมวด แล้วนำผลที่ได้ไปเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนน อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 3.1 และ 3.2

24 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด สถาบันอุดมศึกษาจัดทำแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ เป็นรายหมวด จำนวน 3 แผน สถาบันอุดมศึกษาอาจกำหนด Roadmap แผนพัฒนาองค์การ ดังนี้ 12.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ (น้ำหนักร้อยละ 18) แผนภาคบังคับ แผนภาคสมัครใจ* หมวด 1 หมวด 5 หมวด 6 * ข้อแนะนำ การพัฒนาการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง สถาบันอุดมศึกษาควรมุ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพของคณาจารย์และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง รวมทั้ง ควรมีการออกแบบกระบวนงานที่มีประสิทธิภาพเพื่อสนองตอบต่อความต้องการของผู้เรียน 2552 2553 2554 สถาบัน อุดมศึกษา เน้นความสำคัญของการกำหนดทิศทางองค์กรที่ชัดเจน และการพัฒนาบุคลากรเพื่อเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง 1 5 3 6 2 4 Successful Level

25 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) แผนที่ 1 แผนที่ 2 แผนที่ 3 รวม 12.1.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ในการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ 2 6 12.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ (น้ำหนักร้อยละ 18) ค่าคะแนนของแต่ละแผนฯ พิจารณาวัดความสำเร็จ โดยนำผลการดำเนินงานของแต่ละตัวชี้วัดในแผนพัฒนาองค์กรแต่ละแผนไปเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนนจะได้ค่าคะแนนของแต่ละตัวชี้วัด และนำค่าคะแนนของทุกตัวชี้วัดในแผนฯมาเฉลี่ย อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 4

26 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การประเมินผล เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 12.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์การดำเนินการของส่วนราชการ ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวด 7) 12.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ในการดำเนินการของส่วนราชการ ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวด 7) (น้ำหนักร้อยละ 6) วัดความสำเร็จของการดำเนินงาน โดยนำผลการดำเนินงานของแต่ละตัวชี้วัดในหมวด 7 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานไปเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนน จะได้ค่าคะแนนของแต่ละตัวชี้วัด และนำค่าคะแนนที่ได้ของทุกตัวชี้วัดในหมวด 7 มาเฉลี่ย จะได้ค่าคะแนนของตัวชี้วัดที่ 12.2 อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 3.3

27 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12.3 แบ่งการประเมินผลเป็น 3 หัวข้อย่อย ดังนี้ 12.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (น้ำหนักร้อยละ 6) การประเมินผล น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานลักษณะสำคัญขององค์กร (15 คำถาม) 6 9 12 15 ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเองหมวด 1-7 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 7 ความครบถ้วนของแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553* (3 แผน) -

28 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การประเมินผล น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานลักษณะสำคัญขององค์กร (15 คำถาม) 6 9 12 15 12.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (น้ำหนักร้อยละ 6) พิจารณาความครบถ้วนสมบูรณ์ในการตอบคำถามจำนวน 15 คำถาม อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 5

29 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การประเมินผล น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเองหมวด 1-7 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 6 7 12.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (น้ำหนักร้อยละ 6) พิจารณาความครบถ้วนสมบูรณ์ของการ การจัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเองหมวด 1-7 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน การพิจารณาความครบถ้วนในการประเมินองค์กรด้วยตนเองให้นำแบบฟอร์มที่ 3.1,3.2.1,3.2.2 และ 3.3 มานับรวมด้วย ดังนั้น จึงหมายความว่าสถาบันอุดมศึกษาจะประเมินองค์กรในส่วนของตัวชี้วัดที่ 12.3 นี้ด้วยแบบฟอร์มที่ 6 เพิ่มเติมอีก 3 หมวด (นอกเหนือจากแบบฟอร์มที่ 3) แต่นับความครบถ้วนสมบูรณที่ระดับ 5 เท่ากับ 7 หมวด อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 6

30 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การประเมินผล น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ความครบถ้วนของแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ (3 แผน) - 12.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (น้ำหนักร้อยละ 6) พิจารณาความครบถ้วนสมบูรณ์ของแผนพัฒนาองค์การแต่ละแผน การจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ปีงบประมาณ พ.ศ ให้สถาบันอุดมศึกษาดำเนินการหมวดบังคับ คือ หมวด 6 (หากสถาบันอุดมศึกษาเลือกดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ แล้ว ให้ดำเนินการในหมวด 5 หรือหมวด 3 แทน ตามลำดับ) กรณีที่สถาบันอุดมศึกษาใดยังไม่ผ่านเกณฑ์ฯ บางข้อที่ได้ดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ ให้จัดทำแผนพัฒนาองค์การ ปีงบประมาณ พ.ศ เพิ่มเติมมาด้วย อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 7

31 กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ส่วนราชการระดับจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552

32 ขอบเขตการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับจังหวัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ขอบเขตการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับจังหวัด 1. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐให้ครอบคลุมส่วนราชการ 1.1 ส่วนราชการประจำจังหวัด ประกอบด้วย สำนักงานจังหวัด และส่วนราชการประจำจังหวัดที่เป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาคและมีหน่วยงานในระดับอำเภอด้วย ได้แก่ ที่ทำการปกครองจังหวัด สำนักงานเกษตรจังหวัด สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด สำนักงานประมงจังหวัด สำนักงานที่ดินจังหวัด สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด และสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 1.2 การดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของส่วนราชการประจำ จังหวัดตามข้อ 1.1 ให้พิจารณาครอบคลุมถึงทุกหน่วยงานที่อยู่ในสังกัดของส่วนราชการนั้นๆ

33 ขอบเขตการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับจังหวัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ขอบเขตการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับจังหวัด 1. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐให้ครอบคลุมส่วนราชการ กรณีสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ให้นำข้อมูลผลการดำเนินงานของโรงพยาบาลในสังกัด มาใช้ประกอบในการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดด้วย โรงพยาบาลในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด อาจไม่จำเป็นต้องดำเนินการตามเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของตัวชี้วัดนี้ เนื่องจากโรงพยาบาลได้มีการนำระบบการรับรองคุณภาพของโรงพยาบาล (Hospital Accreditation : HA) มาใช้แล้วหรือจะนำมาใช้ต่อไป

34 ขอบเขตการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับจังหวัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ขอบเขตการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับจังหวัด 2. หากจังหวัดมีความประสงค์จะนำส่วนราชการประจำจังหวัดอื่น ๆ นอกเหนือจากที่กำหนดไว้ในข้อ 1.1 มาดำเนินการด้วย ให้เป็นไปตามความสมัครใจ

35 ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
การประเมินผลตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (น้ำหนัก : ร้อยละ 20) ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) 12.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ 12 12.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ในการดำเนินการของจังหวัด ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับพื้นฐาน (หมวด 7) 4 12.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 รวม 20

36 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การดำเนินการจัดทำแผนการพัฒนาองค์การ จำนวน 2 แผน ซึ่งแต่ละแผนแบ่งการประเมินผลเป็น 2 ตัวชี้วัดย่อย ดังนี้ 12.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ (น้ำหนักร้อยละ 12) ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) แผนที่ 1 แผนที่ 2 รวม 12.1.1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 4 8 12.1.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ในการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ 2 6 12

37 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) แผนที่ 1 แผนที่ 2 รวม 12.1.1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 4 8 12.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ (น้ำหนักร้อยละ 12) วัดความสำเร็จของการดำเนินงาน โดยตรวจประเมินทุกข้อ ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน หมวด 1 และหมวด 4 ข้อที่ผ่านได้ 5 คะแนน ข้อที่ไม่ผ่านได้ 1 คะแนน ค่าคะแนนของแต่ละแผนพิจารณา โดยนำค่าคะแนนที่ได้ของแต่ละข้อมาคูณกับน้ำหนักความสำคัญของข้อนั้นๆ จะได้ค่าคะแนนถ่วงน้ำหนัก แล้วรวมค่าคะแนนถ่วงน้ำหนักที่ได้ของทุกข้อในแต่ละแผนฯ อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 3.1 และ 3.2

38 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด จังหวัดจัดทำแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ เป็นรายหมวด จำนวน 2 แผน 12.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ (น้ำหนักร้อยละ 12) 2552 2553 2554 จังหวัด เน้นความสำคัญของฐานข้อมูลในการผลักดันยุทธศาสตร์ภายใต้ระบบการนำองค์กรที่มีประสิทธิภาพ โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง 1 4 2 3 5 6

39 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) แผนที่ 1 แผนที่ 2 รวม 12.1.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ในการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ 2 4 12.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ (น้ำหนักร้อยละ 12) ค่าคะแนนของแต่ละแผนฯ พิจารณาวัดความสำเร็จ โดยนำผลการดำเนินงานของแต่ละตัวชี้วัดในแผนพัฒนาองค์กรแต่ละแผนไปเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนนจะได้ค่าคะแนนของแต่ละตัวชี้วัด และนำค่าคะแนนของทุกตัวชี้วัดในแผนฯมาเฉลี่ย อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 4

40 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การประเมินผล เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 12.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์การดำเนินการของจังหวัดตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวด 7) 12.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์การดำเนินการของจังหวัดตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวด 7) (น้ำหนักร้อยละ 4) วัดความสำเร็จของการดำเนินงาน โดยนำผลการดำเนินงานของแต่ละตัวชี้วัดในหมวด 7 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานไปเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนน จะได้ค่าคะแนนของแต่ละตัวชี้วัด และนำค่าคะแนนที่ได้ของทุกตัวชี้วัดในหมวด 7 มาเฉลี่ย จะได้ค่าคะแนนของตัวชี้วัดที่ 12.2 อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 3.3

41 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12.3 แบ่งการประเมินผลเป็น 3 หัวข้อย่อย ดังนี้ 12.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (น้ำหนักร้อยละ 4) การประเมินผล น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานลักษณะสำคัญขององค์กร (15 คำถาม) 6 9 12 15 ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเองหมวด 1-4 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (4 หมวด) ความครบถ้วนของแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553* (2 แผน) -

42 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การประเมินผล น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานลักษณะสำคัญขององค์กร (15 คำถาม) 6 9 12 15 12.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (น้ำหนักร้อยละ 4) พิจารณาความครบถ้วนสมบูรณ์ในการตอบคำถามจำนวน 15 คำถาม อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 5

43 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การประเมินผล น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเองหมวด 1-4 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (4 หมวด) 12.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (น้ำหนักร้อยละ 4) พิจารณาความครบถ้วนสมบูรณ์ของการรายงานการประเมินองค์กร ด้วยตนเองหมวด 1-4 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 6

44 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การประเมินผล น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ความครบถ้วนของแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ (2 แผน) - 12.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (น้ำหนักร้อยละ 4) พิจารณาความครบถ้วนสมบูรณ์ของแผนพัฒนาองค์การแต่ละแผน การจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ให้จังหวัดประเมินองค์กรด้วยตนเองตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานในหมวด 2 และหมวด 3 เพื่อจัดทำแผนพัฒนาองค์การในหมวดดังกล่าว กรณีจังหวัดที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน ในปี งบประมาณ พ.ศ จะต้องจัดทำแผนฯเพิ่มเติมมาด้วย อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 7

45 การรายงานสรุปค่าคะแนนของตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การรายงานสรุปค่าคะแนนของตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ มีแนวทางดังนี้ 1. ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ 2. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ในการดำเนินการ ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับพื้นฐาน (หมวด 7) 3. ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 รายงานค่าคะแนนของตัวชี้วัดย่อย/หัวข้อย่อย รายงานค่าคะแนนถ่วงน้ำหนักของตัวชี้วัดย่อย/หัวข้อย่อย โดยการนำค่าคะแนนที่ได้ของแต่ละตัวชี้วัดย่อย/หัวข้อย่อยไปคูณกับน้ำหนักของแต่ละตัวชี้วัดย่อย/หัวข้อย่อยที่กำหนดไว้ รายงานค่าคะแนนสุดท้ายของตัวชี้วัดโดยการรวมค่าคะแนนถ่วงน้ำหนักของทุกตัวชี้วัดย่อย/หัวข้อย่อย แบบฟอร์มที่ 8 แบบฟอร์มรายงานผลระดับคะแนนระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

46 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 1. การวิเคราะห์และจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 2. การจัดทำตัวชี้วัดความสำเร็จของกระบวนการและผลลัพธ์ของแผนพัฒนาองค์การ 3. ดำเนินการปรับปรุงองค์กรตามแผนพัฒนาองค์การของปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 4. การประเมินองค์กรตามเกณฑ์ PMQA ประจำปีงบประมาณ พ.ศ เพื่อการจัดทำแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 5. การรายงานผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด 6. การตรวจประเมินจากผู้ตรวจประเมินภายนอก

47 ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
ประเมินองค์กรเทียบกับ เกณฑ์ฯ ในระดับพื้นฐาน 1 วิเคราะห์ OFI และแผนปรับปรุง ปี 51 ในหมวดบังคับและสมัครใจ จัดทำตัวชี้วัดความสำเร็จของ กระบวนการและผลลัพธ์ จัดทำแผนพัฒนาองค์การ 2 ดำเนินการ ปรับปรุง 3 รายงานผลการดำเนินการ 5 ตรวจประเมินจากผู้ตรวจประเมินภายนอก 6 PMQA Site-Visit ประเมินองค์กรตามเกณฑ์ฯระดับพื้นฐานเพื่อจัดทำแผนฯ ปี 53 4

48 ปฏิทินการดำเนินการ ครั้งที่ 1 จัดทำแผนพัฒนาองค์การ
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ 2551 2552 2553 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. จัดคลีนิกให้คำปรึกษาโดยสำนักงาน ก.พ.ร. การวิเคราะห์และจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 - นำโอกาสในการปรับปรุงจากผลการประเมินองค์กรด้วยตนเองและแผนปรับปรุงองค์กรของปีงบประมาณ พ.ศ. 251 มาทบทวนโดยเทียบกับเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน ครั้งที่ 1 จัดทำแผนพัฒนาองค์การ ครั้งที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงองค์กร ครั้งที่ 3 ติดตามผลการ ปรับปรุงและแนะนำ การตรวจประเมิน

49 ปฏิทินการดำเนินการ แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 2551 2552
ปีงบประมาณ พ.ศ 2551 2552 2553 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. - จัดทำแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ จำนวน 2 แผน 3. การจัดทำตัวชี้วัดความสำเร็จของกระบวนการและผลลัพธ์ 4. ดำเนินการปรับปรุงองค์กรตามแผนพัฒนาองค์การของปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 5. ประเมินองค์กรตามเกณฑ์ PMQA ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 6. การรายงานผลการดำเนินการตามตัวชี้วัดรอบ 6 เดือน และ 12 เดือน 7. การตรวจประเมินจากผู้ตรวจประเมินภายนอก ส่ง 30 ม.ค. 52 ส่ง 30 ม.ค. 52 ส่ง 30 ต.ค. 52

50 แบบฟอร์มที่ 1 และ 2 ภายในวันที่ 30 มกราคม 2552
การรายงานผลตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ การส่งมอบงาน ส่วนราชการจัดส่งรายงานการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ จำนวน 4 ชุดข้อมูลบรรจุในแผ่นซีดีรอม จำนวน 2 แผ่น จำนวนที่กำหนดนี้ ได้รวมถึงการส่งเอกสารหลักฐานแนบตามคำรับรองการปฏิบัติราชการรอบ 12 เดือนด้วยแล้ว) ไปยังสำนักบริหารการเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรม สำนักงาน ก.พ.ร. แบบฟอร์มที่ 1 และ 2 ภายในวันที่ 30 มกราคม 2552 หากจัดส่งไม่ทันในระยะเวลาที่กำหนดจะปรับลดคะแนนจากผลคะแนนรวมของตัวชี้วัดนี้ คะแนน แบบฟอร์มที่ ภายในวันที่ 30 ตุลาคม 2552

51 แบบฟอร์มรายงานผลการดำเนินการ
การรายงานผลตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ แบบฟอร์มรายงานผลการดำเนินการ แบบฟอร์มที่ 1 แบบฟอร์มแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 แบบฟอร์มที่ 2 แบบฟอร์มแสดงตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 แบบฟอร์มที่ 3 แบบฟอร์มรายงานผลการดำเนินการเมื่อเทียบกับเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน แบบฟอร์มที่ 4 แบบฟอร์มรายงานผลลัพธ์การดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ แบบฟอร์มที่ 5 แบบฟอร์มรายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร แบบฟอร์มที่ 6 แบบฟอร์มรายงานผลการประเมินองค์กรด้วยตนเองตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน แบบฟอร์มที่ 7 แบบฟอร์มแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 แบบฟอร์มที่ 8 แบบฟอร์มรายงานผลระดับคะแนนระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

52 การรายงานผลตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ตัวอย่างกรม แบบฟอร์มที่ 1 แบบฟอร์มแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552

53 การรายงานผลตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ตัวอย่างกรม แบบฟอร์มที่ 1 แบบฟอร์มแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552

54 การรายงานผลตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
แบบฟอร์มที่ 2 แบบฟอร์มแสดงตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ตัวอย่างกรม

55 การรายงานผลตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
แบบฟอร์มที่ 2 แบบฟอร์มแสดงตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ตัวอย่างกรม

56 การรายงานผลตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
แบบฟอร์มที่ 3 แบบฟอร์มรายงานผลการดำเนินการเมื่อเทียบกับเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน

57 การรายงานผลตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
แบบฟอร์มที่ 4 แบบฟอร์มรายงานผลลัพธ์การดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ

58 การรายงานผลตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
แบบฟอร์มที่ 5 แบบฟอร์มรายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร

59 การรายงานผลตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
แบบฟอร์มที่ 6 แบบฟอร์มรายงานผลการประเมินองค์กรด้วยตนเองตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน

60 แผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553
การรายงานผลตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ แบบฟอร์มที่ 7 แบบฟอร์มแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ตัวอย่างกรม แผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553

61 การรายงานผลตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
แบบฟอร์มที่ 7 แบบฟอร์มแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553

62 การรายงานผลตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
แบบฟอร์มที่ 8 แบบฟอร์มรายงานผลระดับคะแนนระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ตัวอย่างกรม

63 ขอขอบคุณ


ดาวน์โหลด ppt การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google