การเขียนหุ่นนิ่งทั่วไป

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สตอรี่บอร์ด (Story board)
Advertisements

บทที่ 7 การใช้ตัวอักษร สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษร ใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น.
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
การเขียนภาพวาดเส้น.
สื่อการเรียนรู้ ความงามของศิลปะด้านจิตรกรรม ศ เรื่อง
น้ำหนักแสงเงา.
การเขียนหุ่นนิ่งรวม.
น้ำหนักแสงเงาหุ่นนิ่ง
เรื่อง น้ำหนัก, แสง-เงา โดย สุภา จารุภูมิ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
การเขียนรูปร่าง รูปทรงเรขาคณิต
เรื่อง องค์ประกอบศิลป์ โดย นายสมพงษ์ ถาวรโชติวงศ์ โรงเรียนเบญจมราชาลัย
บทที่ 2 มาตรฐานการเขียนแบบ (The Convention of Drawing)
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4-6 ชื่อแผน บ้านดินน่าอยู่
การวาดเส้นองค์ประกอบศิลป์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4-6 ชื่อแผน บ้านดินน่าอยู่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ทัศนธาตุคือหัวใจ เป็นบันไดสร้างทัศนศิลป์
พื้นที่ผิวและปริมาตร
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต. ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต.
ยินดีต้อนรับสู่ Visual Art Online
ทัศนศาสตร์(Optics) วิชาศึกษาธรรมชาติแสงและการมองเห็น.
โครงงานวิชาคณิตศาสตร์
แผ่นแผนที่ (แผ่นล่าง)
สเฟียโรมิเตอร์(Spherometer)
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ส่วนที่ 1
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ส่วนที่ 2
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
Basic Graphics by uddee
Chapter 5 การประยุกต์ของ อินทิกรัล Applications of Integrals.
เทคนิคการสอนและการใช้สื่อคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
หลักศิลปะเพื่อการออกแบบสวน
เปรียบเทียบหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๔๔ กับหลักสูตรแกนกลาง ๒๕๕๑
ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การวัดและประเมินพัฒนาการของผู้เรียน
มาตราส่วนในงานเขียนแบบ วิทยาลัยเทคนิคราชบุรี
เ ฮี ย น ฟิ สิ ก ส์ โ ต ย ค รู โ อ๊ บ
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
จิตรกรรมไทย Thai painting รหัสวิชา 40215
โดย ครูเพ็ญนภา ทองนุ่ม
Mind map อ.วรพจน์ พรหมจักร.
MY DOGS MY LOVE จัดทำโดย นางสาวณัฐพร แสงอรุณ
กราฟพฤติกรรมภายใต้ช่วงเวลา (BOT)
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4-6 ชื่อแผน ออกแบบบ้านในฝันน่าอยู่
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
การนำเสนอการ์ตูนบัญชี
Background / Story Board / Character
การสร้างแบบเสื้อและแขน
คู่มือการใช้งาน P OWER P OINT 2007 ฉบับนักเรียน.
การภาพจากการสะท้อนแสงของผิวโค้ง
หลักเกณฑ์การออกแบบ.
การจัดองค์ประกอบของภาพ
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
การสะท้อนแสงบนกระจกเงา
Module 2 คุณสมบัติทางกายภาพของวัสดุอาหาร
การชั่งและตวง ครูปนัดดา เปียถนอม.
1. เลนส์นูน เป็นเลนส์ที่ผิวโค้งตรง กลางหนากว่าบริเวณขอบ 2
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
พื้นที่ผิวและปริมาตรทรงกลม
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ทรงกลม.
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการแกะสลักผักและผลไม้ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบประสบการณ์ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาการโรงแรม นางสาวณิชาพิชญ์
จัดทำโดย นายศรัณยู ตรียะโชติ KKU นายธีรวัฒน์ ทองประมูล KMITL Position System ESTATE GROUP.
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
ความเชื่อมั่น ความดูดีในอีก ระดับ ความเป็นผู้นำ ความแตกต่างที่ เป็นจุดเด่น การบ่งบอกถึง คุณภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเขียนหุ่นนิ่งทั่วไป

เรื่องการเขียนหุ่นนิ่งทั่วไป ศ 41201 การเขียนภาพวาดเส้น โดย นายสมพงษ์ ถาวรโชติวงศ์ โรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการ และประยุกต์การใช้ทักษะการเขียน ภาพรูปทรงทั่วไปได้เหมาะสมตามหลักการ

การเขียนหุ่นนิ่งทั่วไป การเขียนภาพที่ดี ควรวาดให้ได้ขนาดเท่าวัตถุจริง ในกรณีที่หุ่นนิ่งใช้เป็นแบบมีขนาดใหญ่มากกว่ากระดาษที่เขียน ควรมีการย่อขนาดให้เล็กลงโดยยึดหลักการจัดหน้ากระดาษ ควรย่อให้มีขนาดเล็กลงประมาณ 70 - 80 เปอร์เซ็นต์ และคอยเช็คดูเรื่องการเขียนให้ตั้งตรงบนกระดาษ โดยยึดแนวขนานด้านขอบของกระดาษเป็นเกณฑ์ โดยเริ่มเช็คตั้งแต่การขึ้นโครงสร้าง ขนาดสัดส่วนของรูป

1. ผู้เรียนควรทำความเข้าใจกับหุ่นนิ่งที่เป็นแบบในการแบ่งสัดส่วนความสูง และความกว้าง ให้ถูกต้อง

2. เริ่มจากการขีดเส้นแกนกลางให้มีขนาดใกล้เคียงหรือเท่าของจริง

3. วัดขนาดด้านสูงและด้านกว้างโดยประมาณด้วยสายตาสำหรับผู้เริ่มต้น แล้วสร้างเป็นรูปร่างเรขาคณิต สำหรับผู้ที่มีพื้นฐานดีอาจวัดโดยการใช้ดินสอวัด

4. การแบ่งสัดส่วนลักษณะต่างๆ ของหุ่น โดยใช้เส้นโครงสร้างเรขาคณิตขีดน้ำหนักเบา 4.1 ปากแจกัน 4.2 คอแจกัน 4.3 ไหล่แจ กัน 4.4 ตัวแจกัน 4.5 ฐานหรือก้นแจกัน

การแบ่งสัดส่วน ปากแจกัน คอแจกัน ไหล่แจกัน ตัวแจกัน ฐานหรือก้นแจกัน

5. การเขียนสัดส่วนและเค้าโครงสร้างของหุ่น โดยวัดและกะขนาดความกว้างของส่วนต่างๆให้เห็นเป็นรูปร่างเรขาคณิต

6. การเขียนสัดส่วนโครงสร้างภายในแสดงมิติด้านหลังและความโค้งของส่วนต่างๆ

7. การเขียนสัดส่วนตามแบบจริงของหุ่น โดยเพิ่มความโค้ง ความเว้าต่างๆ ตามขนาดสัดส่วนของหุ่นและลงเส้นรูปเน้นขึ้น