มุมปัญหาและไขข้อข้องใจ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Advertisements

หลักการบันทึกข้อความ
การเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของระบบบัณฑิตศึกษา 14 กุมภาพันธ์ 2550.
หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 25..
“ผัดเบญจมงคลเสริมเสน่ห์ชีวิต”
พบประธานกรรมการประจำสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
มุมประชาสัมพันธ์ จุลสารสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ฉบับที่ 1 ปีที่ 1 เดือนกุมภาพันธ์ 2548 ข่าวประชาสัมพันธ์ อาจารย์นงนุช สุขพันธ์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ.
บริการผลการศึกษาทันใจกับ สทป.
ระบบประกันคุณภาพคณะวิทยาศาสตร์
Page 1. Page 2 ประโยชน์ต่อการกำหนดนโยบาย วางแผน และกำหนดแนวทางหรือการ ปรับปรุงด้านบริหารจัดการ การเรียนการ สอน และดำเนินงานอื่นๆของมหาวิทยาลัย มีแนวทางการขอรับทุน.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
จุดมุ่งหมายหลักสูตร และการนำหลักสูตรไปใช้
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เครือข่ายวิชาชีพห้องสมุด
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
แนะนำบริการสนับสนุนการวิจัย (Researcher Service Support)
โดย ... รศ. สพญ. ดร.ศจีรา คุปพิทยานันท์ ผู้อำนวยการศูนย์บริการการศึกษา
“ลูกค้าสัมพันธ์” ก้าวใหม่ในการบริการห้องสมุด
93343 หลักโภชนศาสตร์ และอาหารสัตว์
ไทยสบาย หรือไทยสปายะ (Thai Spaya)
นายภมร ดรุณ นักศึกษาปริญญาเอก สารสนเทศศาสตร์ มสธ. รุ่นที่ 2
ลดอัตราการออกกลางคัน ของนักศึกษาปริญญาตรี (Drop out)
เขียนบทความวิจัยส่งอย่างไร
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
การวิจัยเชิงวิทยาศาสตร์ และการประยุกต์ใช้สู่การเรียนการสอน
โปรแกรมการทดสอบวัดความสามารถพื้นฐาน ทางการเรียนของนักศึกษา
การสรรหาและเลือกสรรบุคคลเข้ารับราชการ
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบบัณฑิตศึกษา
การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
Workshop การจัดการความรู้
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
การพัฒนาโปรแกรมระบบสารสนเทศสำหรับอาจารย์ที่ปรึกษา
การประชุมกลุ่มย่อยเรื่อง ด้วย การพัฒนาศักยภาพ ของภาคประชาชน / แรงงาน / ผู้บริโภค ในการสนับสนุนให้นำ GHS ไป ปฏิบัติ ประธาน : ผศ. สำลี ใจดี เลขานุการกลุ่ม.
กลุ่มที่ 2 ผู้ปฏิบัติงานด้านการประกันคุณภาพ
การพิจารณาคำขอรับค่าตอบแทนและอนุมัติให้ได้รับค่าตอบแทนตามระเบียบ ก. พ
ผศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
แผนพัฒนางาน ฝ่ายประชาสัมพันธ์ เพื่อสนับสนุนงานวิชาการในการรองรับ AEC
หมวดที่ 2 การลงทะเบียนเรียน
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้รายวิชาภาคปฏิบัติ
สำนัก เลขา. ผลการปฏิบัติงาน ประจำเดือนตุลาคม 2548.
การบริหารสำนักงาน ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วิจัยอย่างไร ไม่ให้เป็นภาระ แต่เป็นส่วนหนึ่ง ของการเรียนการสอน
คำนิยามและขั้นตอนการเสนอหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
สำนักวิชาการ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่
ITกับโครงการ Food safety
การขอตำแหน่งทางวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร. ปานสิริ พันธุ์สุวรรณ
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
แล การ นิ เทศงานและการ แก้ ไขปัญหา ในงานสหกิจศึกษา การ นิ เทศงานและการ แก้ ไขปัญหา ในงานสหกิจศึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อัจฉราพร โชติพฤกษ์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานมาตรฐานและบริการการศึกษา.
การประกันคุณภาพที่นักศึกษาควรรู้
การบริหารวิชาการและการเรียนการสอน
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
ABAT วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
ประชุมคณาจารย์คณะครุศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 19 มิถุนายน 2557
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ตัวชี้วัดผลงาน 1. มีการคณะกรรมการ หรือ คณะอนุกรรมการ.
ด้านคุณภาพมาตรฐาน การจัดการเรียนการสอนออนไลน์
ชื่อหลักสูตร หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา Bachelor of ……. Program in ………….
โครงการจัดตั้งสายวิชาบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มุมปัญหาและไขข้อข้องใจ จุลสารสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ฉบับที่ 1 ปีที่ 1 เดือนกุมภาพันธ์ 2548 มุมปัญหาและไขข้อข้องใจ รองศาสตราจารย์สมโภช รติโอฬาร สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ผู้เขียนและผู้รับผิดชอบมุมปัญหาและไขข้อข้องใจ

มุมปัญหาและไขข้อข้องใจ เนื่องจากครั้งนี้เป็นครั้งแรกสำหรับจุลสารของพวกเราชาววิทยาศาสตร์สุขภาพ จึงยังไม่มีใครสอบถามเข้ามาทางหน้าเว็บนี้ จึงขอเชิญชวนนักศึกษาและผู้สนใจทุกท่านสอบถามปัญหาข้อข้องใจของท่านมาได้ ทั้งด้านการเรียน ปัญหาทางวิชาการด้านสุขภาพ สิ่งแวดล้อมและที่เกี่ยวข้อง ซึ่งทางทีมงานจะตอบปัญหาข้อข้องใจให้แก่ทุกๆ ท่านอย่างแน่นอนค่ะ

สำหรับในครั้งนี้เนื่องจากยังไม่มีข้อคำถามโดยตรงเข้ามาทางทีมงานจึงได้รวบรวมคำถามที่เป็นคำถามยอดฮิตจากกระดานสนทนาของสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพมาตอบเป็นอาหารว่างไปก่อน 1 คำถาม คือ

คำถาม คุณสมบัติการเข้ารับการอบรมเข้มพิเศษชุดวิชา

คำตอบ ก่อนอื่นคงต้องขอบอกว่า มหาวิทยาลัยมีนโยบายที่จะช่วยเหลือนักศึกษาให้สามารถสำเร็จการศึกษาตามที่ทุกคนมุ่งหวังไว้ จึงพยายามช่วยเหลือในทุกๆ ด้านที่สามารถจะทำได้ในหลายวิธีการด้วยกัน ได้แก่ 1. การปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ เพื่อให้ทราบแนวทางการวางแผนการเรียนการสอน และแนวทางการศึกษาด้วยตนเอง

2. การแนะแนวการศึกษา การแนะแนวการสอบ โดย สำนักบริการการศึกษามีการจัดร่วมกับศูนย์วิทยพัฒนา หรือชมรมนักศึกษาร่วมกันจัดขึ้นทุกปีและทุกภาคการศึกษา 3. การจัดให้มีการสอนเสริมในชุดวิชาที่ยากนักศึกษาสอบไม่ผ่านเป็นจำนวนมาก 4. การพิจารณาปรับปรุงข้อสอบ ซึ่งสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพก็มีการพิจารณาเกี่ยวกับจำนวนนักศึกษาที่สอบไม่ผ่านในแต่ละชุดวิชา และมีการวิเคราะห์ว่านักศึกษามีข้อผิดพลาดในส่วนใดมาก เพื่อนำไปเป็นแนวทางในการแนะนำการศึกษาหรือปรับการออกข้อสอบต่อไป

5. สำหรับการอบรมเข้มพิเศษก็เป็นอีกหนทางหนึ่ง ซึ่งมหาวิทยาลัยกำหนดคุณสมบัติ ไว้ดังนี้ 5.1 เหลือ 1-3 ชุดวิชาสุดท้ายและจะหมดสถานภาพในปีนั้นๆ 5.2 เหลือ 1-3 ชุดวิชาสุดท้าย เคยลงทะเบียนเรียน แต่สอบไม่ผ่านมาแล้วอย่างน้อย 2 ภาคการศึกษา (ภาคปกติ) 5.3 นักศึกษาที่อยู่ในหลักสูตรที่ปิดรับนักศึกษา ได้แก่ ทันตสาธารณสุข ชันสูตรสาธารณสุข และการคุ้มครองผู้บริโภคทางสาธารณสุข ซึ่งเหลือชุดวิชา 3 ชุดวิชาสุดท้าย 5.4 นักศึกษาที่อยู่ในหลักสูตรเก่าที่ประกาศใช้หลักสูตรฉบับปรับปรุงไปแล้ว ได้แก่ สาธารณสุขศาสตร์ และบริหารสาธารณสุข และเหลือ 3 ชุดวิชาสุดท้าย

ทั้งนี้มหาวิทยาลัยจะตรวจสอบคุณสมบัติผู้เข้าเกณฑ์และแจ้งให้นักศึกษาทราบโดยตรง แต่นักศึกษาสามารถที่จะสมัครเข้ารับการอบรมเข้มพิเศษเองได้ ถ้ามั่นใจว่าคุณสมบัติครบถ้วน ซึ่งการอบรมเข้มพิเศษจะจัดในทุกภาคการศึกษาตามที่ชุดวิชานั้นๆ เปิดสอน