งานระบบทะเบียนพัสดุ ปฏิบัติงานภายใต้ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน้าที่ความรับผิดชอบ
Advertisements

1. ขั้นตอนการขออนุมัติหลักการ/ โครงการ
การใช้งานระบบสินค้าคงคลัง
การคืนครุภัณฑ์.
การโอนครุภัณฑ์.
ลำดับขั้นตอนการเสนอของบประมาณ (เดิม)
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย เงินรายได้ของมหาวิทยาลัย พ. ศ
เรื่อง ระเบียบแก้ไขวันเดือนปีเกิด
บทที่ 12 ระบบบัญชีเกี่ยวกับสินทรัพย์ถาวร
โครงการพัฒนาระบบการเงินและบัญชีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานตรวจสอบภายใน
สำนักงานตรวจสอบภายใน
นางสาววราภรณ์ สุภเกษมวงศ์
การยืมเงินรองจ่าย งานคลังและพัสดุ คณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
แนวทางการกำหนดคุณลักษณะเฉพาะ ของครุภัณฑ์และรายการก่อสร้าง
การควบคุมการใช้ยานพาหนะและ การรายงานการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง
กระบวนการลงทะเบียนควบคุมครุภัณฑ์
ประชุมชี้แจงแนวปฏิบัติประจำปีงบประมาณ 2557
ภาควิชาวิศวกรรมระบบควบคุมและเครื่องมือวัด
เกี่ยวกับการเงินและการพัสดุ
การรับและนำส่งเงินรายรับค่ารักษาพยาบาล
การถ่ายทอดองค์ความรู้งานพัสดุ วันที่ 21 มิถุนายน 2556 ณ ห้องบริการคอมพิวเตอร์ ชั้น 2 อาคารสารสนเทศ ตั้งแต่เวลา น. เป็นต้นไป จัดทำโดย ขั้นตอนการแจ้งซ่อม.
คู่มือการจัดซื้อ/จ้างสำหรับผู้รับบริการ
บทที่ 7 การบัญชีเกี่ยวกับการจัดซื้อ และการควบคุมสินค้าคงเหลือ
ขั้นตอนการดําเนินงานของกองคลังที่เกี่ยวข้องกับ หน่วยงานอื่น
ขั้นตอนการจัดหาโดยการรับบริจาคของหน่วยงานกรมประมง
รายละเอียดที่เกี่ยวข้องกับใบขอซื้อขอจ้าง
การขอให้จัดหาครุภัณฑ์ / จัดจ้าง
น.ส.เสาวลักษณ์ วิจิตรโสภา
โครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ สู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์
ซ้อมความเข้าใจแนวทางการปฏิบัติงานในระบบ e-GP ระยะที่ ๒
การบริหารงบประมาณ ขั้นตอน 1. จัดทำแผนปฏิบัติการ 2. การใช้จ่ายงบประมาณ
ข้อมูลหลักผู้ขายในระบบ
(ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ( ชื่อกองทุน )
เงินนอกงบประมาณ โดย นางชูใจ บุญสุยา.
การบริหารงานการเงินของสถานศึกษา
การใช้เงินอุดหนุนปัจจัยพื้นฐาน
หลักฐานการจ่ายค่าใช้จ่ายต่างๆ
การบริหารงบประมาณ,งบเงินอุดหนุน,ประเภทเงินอุดหนุนทั่วไป
ตัวชี้วัดที่ 6 การดำเนินการด้านพัสดุถูกต้อง เป็นระบบ ตรวจสอบได้ง่าย
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 คำสั่งกระทรวงอุตสาหกรรม ที่ 243/2556 เรื่อง แนวทางการ ปฏิบัติในการพิจารณาคำขอรวมทั้ง เอกสารที่เกี่ยวข้องตาม.
การบรรยาย เรื่อง “งานสารบรรณ”.
เอกสารแนะนำ สำหรับ หน่วยงานที่ปฏิบัติงานด้านการจัดซื้อจัดจ้าง และ
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ
คือ ระบบบัญชีคอมพิวเตอร์
การเบิกจ่ายค่าครุภัณฑ์โครงการวิจัย
ฝ่ายบริหารทั่วไป หน้าที่ความรับผิดชอบ รับผิดชอบการปฏิบัติงานบริหารทั่วไป ได้แก่ งานธุรการ งานสารบรรณ งานการเงิน บัญชี และพัสดุ งานยานพาหนะ งานจัดทำและบริหารงบประมาณ.
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2539
สำนักวิชาการ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่
การจัดทำเอกสารเบิกจ่ายเงินวิจัย
E-Sarabun.
งานพัสดุ สินทรัพย์ วัสดุ.
ระบบการเรียกเก็บหนี้
การประชุมซักซ้อมการปฏิบัติงาน การเลือกตั้งสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร (ส. ก
โครงการจัดอบรมระบบควบคุมพัสดุ หน่วยเบิก
แนวทางการยกเลิกการจัดทำ บัญชีตามเกณฑ์คงค้างด้วยมือ
การควบคุมบัตรเติมน้ำมันรถราชการ
การบันทึกบัญชีและการจัดทำรายงานการเงิน
แนวทางการเปิดเผยข้อมูลรายละเอียดค่าใช้จ่าย เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างราคากลาง และการคำนวณราคากลาง ของ ป.ป.ช.
กรณีตัวอย่างการจัดซื้อจัดจ้าง
สรุปประเด็นข้อตรวจพบ
ฎีกาที่ ๕๙๕/๒๕๓๔ การที่มีระเบียบการจดทะเบียนครอบครัวฯกำหนด
ข้อสังเกตจากการตรวจสอบ ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข
ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1
การบริหารเงินทดรองจ่ายหมุนเวียนภายในส่วนงาน
ระบบที่เกี่ยวข้องกับการจัดซื้อ - จ้าง ส่วนราชการ E – GP GFMIS ทร. RTN ERP E-GP supporting System ผู้ประกอบการ E -GP.
กระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง
การดำเนินการเกี่ยวกับพนักงานราชการ
หลักเกณฑ์การรับ-จ่าย-การจัดทำบัญชี
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย รถราชการ พ.ศ.2523 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

งานระบบทะเบียนพัสดุ ปฏิบัติงานภายใต้ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

หมวด 3 : การควบคุมและการจำหน่ายพัสดุ ส่วนที่ 2 : การควบคุม

การเก็บรักษาพัสดุ (ข้อ 151) “พัสดุของส่วนราชการไม่ว่าจะได้มาด้วยประการใด ให้อยู่ในความควบคุมตามระเบียบนี้ เว้นแต่มีระเบียบของทางราชการ หรือกฎหมายกำหนดไว้เป็นอย่างอื่น” การลงบัญชีหรือทะเบียนควบคุมพัสดุ (ข้อ 152) “เมื่อเจ้าหน้าที่พัสดุได้รับมอบแล้ว ให้ดำเนินการดังต่อไปนี้ (1) ลงบัญชีหรือทะเบียนเพื่อควบคุมพัสดุ แล้วแต่กรณี แยกเป็นชนิด และแสดงรายการตามตัวอย่างที่ กวพ. กำหนด โดยให้มีหลักฐานการรับเข้าบัญชีหรือทะเบียนไว้ประกอบรายการด้วย (2) เก็บรักษาพัสดุให้เป็นระเบียบเรียบร้อย ปลอดภัยและให้ครบถ้วนถูกต้อง ตรงตามบัญชีหรือทะเบียน

การได้มาของพัสดุ ได้มาตามกระบวนการพัสดุในการจัดซื้อจัดจ้าง ได้มาจากการได้รับบริจาค หรือได้แถมมากับการจัดซื้อจัดจ้าง หรืออื่น ๆ

การควบคุมพัสดุ เมื่อกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุเสร็จสิ้นแล้วงานระบบทะเบียนพัสดุจะได้รับใบเบิกพัสดุ จากนั้นก็จะดำเนินการตามขั้นตอนดังนี้ :- 1. ทำบันทึก e-office แนบใบเบิกพัสดุที่มีรายละเอียดของครุภัณฑ์ หมายเลขครุภัณฑ์ ลายมือชื่อผู้รับครุภัณฑ์ ส่งให้กับหน่วยงานต้นเรื่อง

ตัวอย่างบันทึกข้อความส่งใบเบิกพัสดุทาง e-office

ตัวอย่างใบเบิกพัสดุที่จัดส่งทาง e-office

ตัวอย่างเอกสารแนบใบเบิกพัสดุที่จัดส่งทาง e-office

การควบคุมพัสดุ (ต่อ) 2. หน่วยงานก็ดำเนินการตามข้อ 152 (1) คือการลงบัญชีหรือทะเบียนควบคุมพัสดุ โดย กำกับหมายเลขครุภัณฑ์ที่ชิ้นครุภัณฑ์ พร้อมกับการเก็บรักษาพัสดุให้เป็นระเบียบเรียบร้อย ปลอดภัยและให้ครบถ้วนถูกต้องตามบัญชีหรือทะเบียน ข้อ 152 (2) 3 เก็บใบเบิกพัสดุเข้าแฟ้ม พร้อมกับเพิ่มรายการครุภัณฑ์ในทะเบียนคุมของหน่วยงาน 4 หน่วยงานเตรียมพร้อมเพื่อรอการตรวจสอบพัสดุจากคณะกรรมการตรวจสอบพัสดุประจำปีงบประมาณ

ตัวอย่างทะเบียนคุมครุภัณฑ์

การควบคุมพัสดุ (ต่อ) ได้มาจากการได้รับบริจาค หรือได้แถมมากับการจัดซื้อจัดจ้าง หรืออื่น ๆ ดำเนินการตามขั้นตอนดังนี้ :- 1. หน่วยงานทำบันทึก e-office เรียนอธิการบดี แจ้งการได้มาของครุภัณฑ์พร้อมกับให้มหาวิทยาลัยออกหมายเลขครุภัณฑ์ให้ โดยหน่วยงานต้องระบุรายละเอียดของครุภัณฑ์ให้ครบถ้วน เช่น ประเภทครุภัณฑ์,ยี่ห้อ,รุ่นและราคาที่ได้มา เป็นต้น

ตัวอย่าง e-office ขอเลขรหัสครุภัณฑ์

การควบคุมพัสดุ (ต่อ) 2. เมื่อบันทึกถึงสำนักงานอธิการบดี ผู้มีอำนาจก็จะพิจารณามอบพัสดุเพื่อดำเนินการ 3. กลุ่มงานพัสดุได้รับบันทึกข้างต้น ก็จะออกหมายเลขครุภัณฑ์ จากนั้นก็จะทำบันทึก e-office แจ้งหมายเลขครุภัณฑ์ไปยังหน่วยงาน โดยจะแนบใบเบิกพัสดุ เพื่อให้หน่วยงานลงนามในใบเบิกพัสดุ แล้วส่งคืนมายังกลุ่มงานพัสดุ เพื่อจัดเก็บเป็นหลักฐานต่อไป

การควบคุมพัสดุ (ต่อ) 4. เมื่อหน่วยงานได้รับหมายเลขครุภัณฑ์แล้ว ก็ดำเนินตามข้อ 152(1) คือการลงบัญชีหรือทะเบียนควบคุมพัสดุ โดยกำกับหมายเลขที่ชิ้นครุภัณฑ์ พร้อมกับเพิ่มรายการครุภัณฑ์ในทะเบียนคุมของหน่วยงาน และข้อ 152 (2) การเก็บรักษาพัสดุให้เป็นระเบียบเรียบร้อย ปลอดภัยและให้ครบถ้วนถูกต้องตามบัญชีหรือทะเบียน