โครงการวิจัยและพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยการจัดการความรู้ Knowledge Sharing โครงการวิจัยและพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยการจัดการความรู้ สำนักบริหารความร่วมมือทางวิชาการเพื่อการพัฒนาการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ จังหวัดชายแดนภาคใต้ กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สถาบันรามจิตติ
การขับเคลื่อนการพัฒนาครูและยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจังหวัดนราธิวาสด้วยการจัดการความรู้
วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อใช้การจัดการความรู้เป็นเครื่องมือขับเคลื่อนในการพัฒนาครูให้สามารถพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาไทยที่ส่งผลต่อความสามารถในการอ่านออกเขียนได้และยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทยของนักเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจังหวัดนราธิวาส 2. เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาภาษาไทยและกลุ่มสาระอื่นๆที่โรงเรียนกำหนดเป็นเป้าหมายในการพัฒนา 3. เพื่อขยายผลและพัฒนาระบบการจัดการจัดการความรู้ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจังหวัดนราธิวาส
โรงเรียนในเครือข่าย โรงเรียนในโครงการ 31 โรง เขต 1 =7 เขต 2 = 11 เขต 3 = 13 เป็นโรงเรียนในโครงการวิจัยปีที่ 1 จำนวน 6 โรงเรียน
ผลการพัฒนา ใช้ KM เป็นเครื่องมือ สร้างขุมความรู้ (Key Success Factor)
นวัตกรรมพัฒนาครูและยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ขุมความรู้ Key Success Factor แก่นความรู้ Core Competence นวัตกรรมพัฒนาครูและยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
เกิดเครือข่ายการจัดการความรู้และชุมชนนักปฏิบัติ การขับเคลื่อน KM เกิดเครือข่ายการจัดการความรู้และชุมชนนักปฏิบัติ
นักวิจัยระดับโรงเรียนโรงละ 3 คนเป็นทีมขับเคลื่อน ขยายผลไปยังครู ระดับกลุ่มโรงเรียน โรงเรียนแกนนำ แม่ข่าย การจัดการความรู้ ในทุกเขตพื้นที่การศึกษา ภายในโรงเรียน นักวิจัยระดับโรงเรียนโรงละ 3 คนเป็นทีมขับเคลื่อน ขยายผลไปยังครู และกลุ่มสาระอื่นๆ ระดับเขตพื้นที่ เขต1 และ เขต 3 มีศึกษานิเทศก์เขตละ 1 ท่าน เขต2 มีรอง ผอ. เขต 1 ท่าน เป็นผู้เชื่อมต่อ ประสานงานและเป็นพี่เลี้ยงขับเคลื่อนการดำเนินงานของโรงเรียนในโครงการ ภายนอกโรงเรียน ภาคบริหารการศึกษา มอ ปัตตานี นักวิจัยภายนอก เครือข่ายวิชาการ Web Site Eduit.pn.psu.ac.th/kroonara
นวัตกรรมครู คำถามแบบเดิม ไม่รู้จะสอนอย่างไร ให้เด็กเข้าใจ ให้เด็กอ่านออก เขียนได้ คำถามแบบ KM เด็กอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ เป็นเพราะอะไร คนที่สอนแล้วเด็กอ่านออกเขียนได้ เขาสอนอย่างไร
ตัวอย่างนวัตกรรม ศึกษานิเทศก์ของเขต 1 เขตพื้นที่จัดสรรงบประมาณให้โรงเรียน จัดทำเอกสารที่เป็นนวัตกรรมวิธีสอนภาษาไทยเน้นการอ่านออกเขียนได้ โรงเรียนในเขต 2 อำเภอสุไหงปาดี รวมกลุ่มโดยใช้งบประมาณจากที่ได้รับจัดสรรจากโครงการวิจัย เลือกโรงเรียนในเครือข่ายเป็นศูนย์การพัฒนา การขยายผลการพัฒนาของโรงเรียนบ้านบางขุนทอง ปรับโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาในช่วงชั้นที่ 1 โดยกำหนดเวลาเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยให้มากขึ้น
นวัตกรรมการจัดการความรู้ในสภาพการทำงานปกติของโรงเรียน
ใช้เวปไซต์ให้เป็นประโยชน์ รายงานการวิจัย 1.เขียนปัญหาที่เป็นอยู่ปัจจุบัน ปัญหาของเด็ก ปัญหาของครู 2. เขียนเรื่อง วิธีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กิจกรรมการจัดการความรู้ 3. เขียนความรู้ที่ได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4. เขียนวิธีการนำความรู้ไปใช้ ปัญหาขณะใช้ความรู้ 5. เขียนบอกวิธีการแก้ปัญหา บอกวิธีการใหม่ 6. เขียนผลที่เกิดขึ้น ระดับโรงเรียน ระดับครู ระดับนักเรียน ลงมือทำต่อไปจาก 1-6 ใช้เวปไซต์ให้เป็นประโยชน์ ข้อควรจำ เขียนทุกครั้งที่ทำ