esearch and Development

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประเมินผลสถานศึกษา
Advertisements

ความหมายของโครงงาน.
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การวิจัยในชั้นเรียน Classroom Research
ขั้นตอนการออกแบบมัลติมีเดีย Multimedia Design Step
กระบวนการวิจัย(Research Process)
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การศึกษารายกรณี.
ภาพรวมแนวคิดของโครงงาน
การประเมินผลแผนงานสื่อสาร
การวางแผนและการดำเนินงาน
เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
โครงการวิจัยเรื่องความอยู่ดีมีสุขของประชากร ในประเทศกำลังพัฒนา
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
Research & Development รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
นายชยันต์ หิรัญพันธุ์
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
การติดตาม และประเมินโครงการ.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
สาขายุทธศาสตร์การพัฒนา รุ่นที่ 11
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
เรื่อง การวางแผนประเมินโครงการ
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
กระบวนการวิจัยเชิงประเมิน
บทที่ 2 การพัฒนาระบบ (System Development)
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
ความคืบหน้าการเข้าสู่ตำแหน่งชำนาญการของสายสนับสนุน
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
ขั้นตอนที่ 1 ระบุปัญหาของนโยบายสาธารณะในชุมชนของท่าน
ขับเคลื่อนนวัตกรรม ด้วยการเข้าใจตลาดและผู้ใช้
สรุปผลการเข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตร “LEADERSHIP DEVELOPMENT PROGRAM” ของ นางนงลักษณ์ บุญก่อ ตำแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักตรวจราชการและติดตามประเมินผล.
การนำผลการวิจัยไปใช้
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
ศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “ โครงการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากร สนับสนุนการติดตามประเมินผลการดำเนินงานของกรมทรัพยากรน้ำ ”
การออกแบบการวิจัย (Research Design)
ทักษะการตัดสินใจ นัทธี จิตสว่าง 28 มีนาคม 2553.
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
การวัดผล (Measurement)
หน่วยที่ 3 สื่อการเรียนรู้สำหรับคอมพิวเตอร์พกพา (Tablet) กิจกรรมที่2 การผลิต การใช้ การประเมินผล สื่อ ICT.
และการประเมินแบบมีส่วนร่วม
วิธีวิทยาการวิจัยขั้นสูงทางการศึกษา
สุรพล เศรษฐบุตร Agri.Extension Dept. 1 กระบวนวิชา การประเมินผลโครงการ ส่งเสริมการเกษตร ( Assessment and Evaluation of Extension Program in Agriculture.
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
กระบวนการวิจัย Process of Research
มุมมอง ผู้เยี่ยมสำรวจ fulltime
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
3 แบบทดสอบก่อนเรียน 1. โครงงานวิทยาศาสตร์มีกี่ประเภท 1. 3 ประเภท 2. 4 ประเภท 3. 5 ประเภท 4. 6 ประเภท 2. ข้อใดไม่ใช่ประเภทของโครงงาน 1. โครงงานประเภททดลอง.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
วงจรของการเห็นคุณค่าแห่งตน
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
ADDIE Model.
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

esearch and Development การวิจัยและพัฒนา R & D โดย กิตติธัช คงชะวัน

R & D Research and Development Educational Research and Development Curriculum Research and Development People or Population Research and Development

ก ารวิจัยและพัฒนา R & D หมายถึง การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใด ๆ (สิ่งของ Research and Development หมายถึง การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใด ๆ (สิ่งของ วัตถุ ความคิดและการกระทำ) โดยอาศัยกระบวนการวิจัยเป็นเครื่องมือดำเนินการตั้งแต่ขั้นตอนแรกจนขั้นตอนสุดท้าย R & D

R & D ขั้นตอนกระบวนการวิจัยและพัฒนา การสำรวจสังเคราะห์สภาพปัญหาและความต้องการ มีลักษณะวิจัยเชิงสำรวจหรือเชิงสังเคราะห์ (Survey or Synthesis Research) 2. การพัฒนาและตรวจสอบความเหมาะสม หรือประเมินประสิทธิภาพผลิตภัณฑ์ 3. การทดลองใช้ผลิตภัณฑ์ มีลักษณะการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) 4. การประเมินกระบวนการใช้และตัวผลิตภัณฑ์ โดยมีลักษณะเป็นวิจัยเชิงประเมิน (Evaluation Research) R & D

1. R & D การสำรวจสังเคราะห์สภาพปัญหาและความต้องการ ขอบข่ายการดำเนินงาน ศึกษารวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสภาพปัญหา ศึกษารวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับความต้องการ จำเป็น 3. ศึกษารวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะของสิ่งที่ จะพัฒนา R & D

2. R & D การพัฒนาและตรวจสอบความเหมาะสม หรือ ประเมินประสิทธิภาพผลิตภัณฑ์ 2. ขอบข่ายการดำเนินงาน การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ การตรวจสอบประเมินความเหมาะสมของ ผลิตภัณฑ์ 3. การประเมินประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ R & D

3. R & D การทดลองใช้ผลิตภัณฑ์หรือการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) ขอบข่ายการดำเนินงานการทดลอง มุ่งเปรียบเทียบภายในกลุ่มทดลองระหว่าง ก่อนใช้และหลังใช้ผลิตภัณฑ์ 2. เปรียบเทียบระหว่างกลุ่มที่ได้รับการทดลองใช้ และไม่ได้ทดลองใช้ผลิตภัณฑ์ 3. มุ่งศึกษาพัฒนาการแต่ละช่วงของผู้รับการ ทดลองใช้ผลิตภัณฑ์ R & D

4. R & D การประเมินกระบวนการใช้และตัวผลิตภัณฑ์หรือ การวิจัยเชิงประเมิน (Evaluation Research) ขอบข่ายการดำเนินงาน ความพร้อมและเพียงพอด้านทรัพยากรดำเนินงาน ใช้ผลิตภัณฑ์ 2. การบริหารจัดการทรัพยากรดำเนินงานใช้ผลิตภัณฑ์ 3. ผลการดำเนินงานใช้ผลิตภัณฑ์ 4. ผลอื่นที่เกิดขึ้นตามมาภายหลังการใช้ผลิตภัณฑ์ R & D

R & D ขั้นตอนการวิจัยและพัฒนาหลักสูตร EX. 1. วิจัยเชิงสำรวจ 1. วิจัยเชิงสำรวจ ความต้องการจำเป็นของชุมชน วิเคราะห์นโยบายและแนวคิด R & D 2. การวางแผนออกแบบพัฒนาหลักสูตร ยกร่าง ออกแบบหลักสูตร ตรวจสอบหลักสูตร ทดลองใช้หลักสูตรประเมินประสิทธิภาพ พิจารณาข้อบกพร่อง 3. วิจัยเชิงทดลอง

R & D ขั้นตอนการวิจัยและพัฒนาหลักสูตร (ต่อ) EX. ปรับปรุงความสมบูรณ์ 4. การปรับปรุงพัฒนา ปรับปรุงความสมบูรณ์ เผยแพร่ ติดต่อ สั่งการ R & D ทดลองใช้ ตรวจสอบทั้งระบบพิจารณาข้อบกพร่อง ผลกระทบของหลักสูตร 5. การวิจัยเชิงประเมิน 6. ปรับปรุง/ขยายผล การนำหลักสูตรไปใช้ แก้ไขปรับปรุงส่วนบกพร่องของหลักสูตร