“ศกร.กศน.ในต่างประเทศที่มีคุณภาพ ”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประเมินผลสถานศึกษา
Advertisements

โรงเรียนวัดเขาปิ่นทอง
การประกันคุณภาพภายนอก
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
แนวทางการรายงานผลการ ดำเนินการ ตั้วบ่งชี้ที่ สกอ
เพื่อรับการประเมินภายนอก
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การประกันคุณภาพการศึกษา
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
ข้อมูลสภาพปัจจุบัน ปัญหา
แผนกลยุกต์การจัดการศึกษาเขตพื้นที่ การศึกษานครพนม เขต 1.
การประกันคุณภาพการศึกษา
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยพายัพ
ข้อคิดเห็นผู้ประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษาต่อ มาตรฐานของสมศ
ทิศทางการจัดการศึกษา โรงเรียนเจริญราษฏร์วิทยา
มาตรฐานการศึกษา วีระ อุสาหะ.
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร และบริบทของสถานศึกษา
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
หลักสูตร นบส.กศน.รุ่น 3 การเสวนา ประกันคุณภาพ กศน.
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การประเมินผลการเรียน
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
ประเด็นการประเมิน : คุณภาพการให้บริการ ตัวชี้วัด : 3
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
Self-Assessment Report
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
ความสำคัญและมโนทัศน์พื้นฐานของการวัดและประเมินผลการศึกษา
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
การบรรยายความรู้เรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
Paradigm Workshop by Dr. Prapon Phasukyud
แนวทางการเขียน แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ ของสถานศึกษา
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
การประกันคุณภาพที่นักศึกษาควรรู้
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
การนำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่การปฏิบัติเพื่อส่งเสริมการจัดการศึกษาวิชาชีพ เพื่อการมีงานทำ.
มาตรฐานตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก
คำนึง อุยตระกูล กศน.อำเภอบ้านไผ่
สำหรับโรงเรียนจัดตั้งใหม่ให้พิจารณาตามความต่อเนื่อง
คุณภาพ / มาตรฐานผู้เรียน / ผู้รับบริการ
คุณค่าคนทำงาน คือการทำงานให้มี คุณภาพ ตอบสนองความต้องการ ของผู้รับบริการทั้งภายนอกและ ภายในตามมาตรฐานวิชาชีพ เป้าหมายของการทำงาน คือ การ ให้บริการที่มี
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
หน่วยที่ 3 การจัดทำรายงานการประเมิน
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
เจตนารมณ์ตาม พรบ. การศึกษา 2542
ความสำคัญและประโยชน์ ของการวิจัยการตลาด
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
เก็บตกคำถามจาก สมศ..
ใบสำเนางานนำเสนอ:

“ศกร.กศน.ในต่างประเทศที่มีคุณภาพ ”

ศกร.กศน.ในต่างประเทศที่มีคุณภาพ 1. ความหมาย 2. ทำไมต้องทำ 3. ทำอย่างไร

ความหมาย เอ็ดเวิร์ด เดมมิง (Edward Demming) คุณภาพคือคุณค่าและเกณฑ์ที่ผู้บริโภคเป็นผู้กำหนดขึ้นไม่ใช่ผู้ประกอบการ การปรับปรุงคุณภาพ หมายถึง การปรับปรุงกระบวนการเพื่อผลผลิตสม่ำเสมอลดข้อผิดพลาด ลดการแก้ไข

ความหมาย จูแรน (Joseph Juran) คุณภาพ หมายถึง สิ่งที่ตรงและเหมาะสมกับการใช้งาน (fitness to use) และเป็น ที่พึงพอใจต่อลูกค้า 2 ประการ ดังนี้ 1. คุณภาพ หมายถึง คุณสมบัติของผลผลิตที่ได้ตามความต้องการและเป็นที่พึงพอใจของลูกค้า 2. ปราศจากความไม่มีประสิทธิภาพ ไร้ข้อบกพร่อง

ความหมาย:สรุป เป็นมาตรฐานที่เกี่ยวกับการจัดการและการประกันคุณภาพ โดยเน้นความพึงพอใจของลูกค้าเป็นสำคัญ บนแนวคิดพื้นฐานที่ว่า เมื่อกระบวนการดี ผลลัพธ์ที่ออกมาก็จะดีตามไปด้วย เป็นการตอบสนองผู้ใช้และผู้รับบริการให้เกิดความพึงพอใจในผลผลิตนั่นเอง

ทำไมต้องทำ พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2542 หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา มาตรา 47 ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับ ประกอบด้วย ระบบการประกันคุณภาพภายใน และระบบการประกันคุณภาพภายนอก

ทำไมต้องทำ มาตรา 48 หน่วยงานต้นสังกัด และสถานศึกษา จัดให้มีระบบการประกับคุณภาพภายใน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการบริหาร และจัดทำรายงานประจำปีเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเปิดเผยต่อสาธารณชน มาตรา 49 ให้มีการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาทุกแห่งอย่างน้อยหนึ่งครั้งทุกห้าปี โดยสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา

ทำอย่างไร มาตรฐานที่ 1 ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายวัตถุประสงค์ กลยุทธ์และแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา มาตรฐานที่ 2 การจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน มาตรฐานที่ 3 การจัดการศึกษานอกระบบประเภทการศึกษา ต่อเนื่อง

ทำอย่างไร มาตรฐานที่ 4 การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ 4 การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ 5 การบริหารจัดการ มาตรฐานที่ 6 การทำงานร่วมกับภาคีเครือข่าย

ทำอย่างไร(มาตรฐานเฉพาะที่เกี่ยวข้อง) มาตรฐานที่ 2 การจัดการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 3 การจัดการศึกษานอกระบบประเภท การศึกษาต่อเนื่อง

มาตรฐานที่ 2 การจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (7 ตัวบ่งชี้) ตัวบ่งชี้ 2.1 การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ 2.2 การพัฒนาสื่อและแหล่งการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับ หลักสูตรและกิจกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน ตัวบ่งชี้ 2.3 การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ตัวบ่งชี้ 2.4 ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความสามารถใน การจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักการจัด การศึกษานอกระบบ

มาตรฐานที่ 2 การจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (7 ตัวบ่งชี้) ตัวบ่งชี้ 2.5 คุณภาพของครูและบุคลากรทางการศึกษา ตัวบ่งชี้ 2.6 คุณภาพของพนักงานราชการ ครูอัตราจ้างและครู สอนเสริม ตัวบ่งชี้ 2.7 คุณภาพของผู้เรียน / ผู้สำเร็จการศึกษานอกระบบ

มาตรฐานที่ 3 การจัดการศึกษานอกระบบประเภทการศึกษาต่อเนื่อง (5 ตัวบ่งชี้) ตัวบ่งชี้ 3.1 การพัฒนาหลักสูตรที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาและ ความต้องการของท้องถิ่น ตัวบ่งชี้ 3.2 สื่อและแหล่งการเรียนรู้สอดคล้องกับหลักสูตรและ กิจกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน ตัวบ่งชี้ 3.3 ครูและผู้สอนมีความสามารถในการจัดกระบวนการ เรียนรู้ตามหลักสูตร

มาตรฐานที่ 3 การจัดการศึกษานอกระบบประเภทการศึกษาต่อเนื่อง (5 ตัวบ่งชี้) ตัวบ่งชี้ 3.4 คุณภาพครูและผู้สอน ตัวบ่งชี้ 3. 5 คุณภาพของผู้เรียน / ผู้รับบริการเป็นไปตามที่ หลักสูตรกำหนด

แม้หนักดังขุนเขา พวกเรากศน. ไม่เคยถอย