“ศกร.กศน.ในต่างประเทศที่มีคุณภาพ ”
ศกร.กศน.ในต่างประเทศที่มีคุณภาพ 1. ความหมาย 2. ทำไมต้องทำ 3. ทำอย่างไร
ความหมาย เอ็ดเวิร์ด เดมมิง (Edward Demming) คุณภาพคือคุณค่าและเกณฑ์ที่ผู้บริโภคเป็นผู้กำหนดขึ้นไม่ใช่ผู้ประกอบการ การปรับปรุงคุณภาพ หมายถึง การปรับปรุงกระบวนการเพื่อผลผลิตสม่ำเสมอลดข้อผิดพลาด ลดการแก้ไข
ความหมาย จูแรน (Joseph Juran) คุณภาพ หมายถึง สิ่งที่ตรงและเหมาะสมกับการใช้งาน (fitness to use) และเป็น ที่พึงพอใจต่อลูกค้า 2 ประการ ดังนี้ 1. คุณภาพ หมายถึง คุณสมบัติของผลผลิตที่ได้ตามความต้องการและเป็นที่พึงพอใจของลูกค้า 2. ปราศจากความไม่มีประสิทธิภาพ ไร้ข้อบกพร่อง
ความหมาย:สรุป เป็นมาตรฐานที่เกี่ยวกับการจัดการและการประกันคุณภาพ โดยเน้นความพึงพอใจของลูกค้าเป็นสำคัญ บนแนวคิดพื้นฐานที่ว่า เมื่อกระบวนการดี ผลลัพธ์ที่ออกมาก็จะดีตามไปด้วย เป็นการตอบสนองผู้ใช้และผู้รับบริการให้เกิดความพึงพอใจในผลผลิตนั่นเอง
ทำไมต้องทำ พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2542 หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา มาตรา 47 ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับ ประกอบด้วย ระบบการประกันคุณภาพภายใน และระบบการประกันคุณภาพภายนอก
ทำไมต้องทำ มาตรา 48 หน่วยงานต้นสังกัด และสถานศึกษา จัดให้มีระบบการประกับคุณภาพภายใน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการบริหาร และจัดทำรายงานประจำปีเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเปิดเผยต่อสาธารณชน มาตรา 49 ให้มีการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาทุกแห่งอย่างน้อยหนึ่งครั้งทุกห้าปี โดยสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
ทำอย่างไร มาตรฐานที่ 1 ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายวัตถุประสงค์ กลยุทธ์และแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา มาตรฐานที่ 2 การจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน มาตรฐานที่ 3 การจัดการศึกษานอกระบบประเภทการศึกษา ต่อเนื่อง
ทำอย่างไร มาตรฐานที่ 4 การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ 4 การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ 5 การบริหารจัดการ มาตรฐานที่ 6 การทำงานร่วมกับภาคีเครือข่าย
ทำอย่างไร(มาตรฐานเฉพาะที่เกี่ยวข้อง) มาตรฐานที่ 2 การจัดการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 3 การจัดการศึกษานอกระบบประเภท การศึกษาต่อเนื่อง
มาตรฐานที่ 2 การจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (7 ตัวบ่งชี้) ตัวบ่งชี้ 2.1 การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ 2.2 การพัฒนาสื่อและแหล่งการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับ หลักสูตรและกิจกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน ตัวบ่งชี้ 2.3 การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ตัวบ่งชี้ 2.4 ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความสามารถใน การจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักการจัด การศึกษานอกระบบ
มาตรฐานที่ 2 การจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (7 ตัวบ่งชี้) ตัวบ่งชี้ 2.5 คุณภาพของครูและบุคลากรทางการศึกษา ตัวบ่งชี้ 2.6 คุณภาพของพนักงานราชการ ครูอัตราจ้างและครู สอนเสริม ตัวบ่งชี้ 2.7 คุณภาพของผู้เรียน / ผู้สำเร็จการศึกษานอกระบบ
มาตรฐานที่ 3 การจัดการศึกษานอกระบบประเภทการศึกษาต่อเนื่อง (5 ตัวบ่งชี้) ตัวบ่งชี้ 3.1 การพัฒนาหลักสูตรที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาและ ความต้องการของท้องถิ่น ตัวบ่งชี้ 3.2 สื่อและแหล่งการเรียนรู้สอดคล้องกับหลักสูตรและ กิจกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน ตัวบ่งชี้ 3.3 ครูและผู้สอนมีความสามารถในการจัดกระบวนการ เรียนรู้ตามหลักสูตร
มาตรฐานที่ 3 การจัดการศึกษานอกระบบประเภทการศึกษาต่อเนื่อง (5 ตัวบ่งชี้) ตัวบ่งชี้ 3.4 คุณภาพครูและผู้สอน ตัวบ่งชี้ 3. 5 คุณภาพของผู้เรียน / ผู้รับบริการเป็นไปตามที่ หลักสูตรกำหนด
แม้หนักดังขุนเขา พวกเรากศน. ไม่เคยถอย